“โรค ซึม เศร้า” เช็ค 8 สัญญาณเตือน สังเกตอาการเบื้องต้นก่อนสาย

โรค ซึม เศร้า, โรค ซึม เศร้า มี กี่ ระยะ, โรค ซึม เศร้า มี อาการ อย่างไร, อาการ โรค ซึม เศร้า เป็นอย่างไร, โรค ซึม เศร้า เกิดจากอะไร, ตรวจสอบ โรค ซึม เศร้า, เช็ค ภาวะ ซึม เศร้า

"โรค ซึม เศร้า" ใกล้ตัวกว่าที่คิด หมั่นสังเกตอาการเบื้องต้นให้ดี เผย 8 สัญญาณเตือนภาวะซึมเศร้า หากพบรีบพบแพทย์ด่วน

“โรค ซึม เศร้า” มี กี่ ระยะ โรค ซึมเศร้า มี อาการ อย่างไร อาการ โรคซึมเศร้า เป็นอย่างไร โรคซึมเศร้า เกิดจากอะไร ตรวจสอบ โรคซึมเศร้า เช็ค ภาวะ ซึม เศร้า 8 สัญญาณเตือนที่หลายคนไม่เคยรู้ หากพบอาการรีบปรึกษาแพทย์ด่วนติดตามต่อได้ที่นี่ TOP News

ข่าวที่น่าสนใจ

รู้หรือไม่? การทำงานที่หนักมากเกินไป เป็นอีกหนึ่งสาเหตุหลักของความเครียด ส่งผลเสียต่อสุขภาพจิตจนอาจะนำไปสู่ภาวะซึมเศร้าได้ ถึงแม้โรคซึมเศร้าเกิดได้จากหลายสาเหตุ ทั้งจาก

  • ความเครียดสะสม
  • ปัญหาที่หาทางออกไม่ได้
  • มองไม่เห็นคุณค่าในตัวเอง
  • การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนบางชนิด

 

 

 

โรค ซึม เศร้า, โรค ซึม เศร้า มี กี่ ระยะ, โรค ซึม เศร้า มี อาการ อย่างไร, อาการ โรค ซึม เศร้า เป็นอย่างไร, โรค ซึม เศร้า เกิดจากอะไร, ตรวจสอบ โรค ซึม เศร้า, เช็ค ภาวะ ซึม เศร้า

 

 

 

แต่สาเหตุหลัก ๆ คือ ความผิดปกติ หรือไม่สมดุลของสารเคมีในสมอง
จึงส่งผลต่อความรู้สึกนึกคิด และระดับความสุขในชีวิตของผู้ที่มีภาวะโรคซึมเศร้า

 

 

 

โรค ซึม เศร้า, โรค ซึม เศร้า มี กี่ ระยะ, โรค ซึม เศร้า มี อาการ อย่างไร, อาการ โรค ซึม เศร้า เป็นอย่างไร, โรค ซึม เศร้า เกิดจากอะไร, ตรวจสอบ โรค ซึม เศร้า, เช็ค ภาวะ ซึม เศร้า

 

 

 

 

 

 

8 สัญญาณเตือน เสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้า

  • เบื่องาน ไม่มีความพอใจในงานที่ทำ
  • เครียด คิดเรื่องงานตลอดแม้ไม่อยู่ที่ทำงาน
  • เหนื่อยสะสม ไม่มีเวลาใช้ชีวิต (ติดต่อกันเป็นเวลานาน)
  • ขาดสมาธิกับงาน ความใส่ใจกับงานลดน้อยลง
  • งานเริ่มเกิดข้อผิดพลาด
  • ควบคุมอารมณ์ยาก ความอดทนต่ำ หงุดหงิดง่าย
  • นอนไม่หลับจนต้องพึ่งยานอนหลับ
  • เริ่มมีโรคประจำตัว เช่น ปวดหัวไมเกรน ปวดหลัง ผมร่วง

 

 

 

โรค ซึม เศร้า, โรค ซึม เศร้า มี กี่ ระยะ, โรค ซึม เศร้า มี อาการ อย่างไร, อาการ โรค ซึม เศร้า เป็นอย่างไร, โรค ซึม เศร้า เกิดจากอะไร, ตรวจสอบ โรค ซึม เศร้า, เช็ค ภาวะ ซึม เศร้า

 

 

 

วิธีป้องกันภาวะซึมเศร้าจากการทำงาน

  •  กำหนดเวลาการทำงานที่ชัดเจน
  • ออกกำลังกาย ทำกิจกรรมที่ชอบ
  • พักผ่อนให้เพียงพอ
  • คุยกับเพื่อนร่วมงาน
  • แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน
  • ลองทำกิจกรรมใหม่ ๆ
  • พบเจอผู้คนใหม่ ๆ สิ่งแวดล้อมใหม่ ๆ
  • ยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้น ปรับความคิดตัวเองว่า เรื่องงานบางอย่างเป็นปัญหาโครงสร้างที่อาจจะแก้ไขได้ยาก หากรู้สึกว่าเรื่องงานกระทบกับชีวิตมากเกินไป แนะนำให้ปรึกษาจิตแพทย์

สปสช. รักษาฟรี ปรึกษาโรงพยาบาลตามสิทธิ

 

 

 

ข้อมูล : สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน – Social Security Office

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด

"นฤมล-ธรรมนัส" ร่วมต้อนรับ "วีระพงษ์" นายกอบจ.มุกดาหาร สมัครสมาชิก พรรคกล้าธรรม มั่นใจอนาคตเลือกตั้งสนามใหญ่
"เสธหิ" พูดกระแทกใจ "อันที่สุดของไทยนั้นคือชาติ หากพินาศแล้วใครอยู่ได้หนอ"
สาวสุดช็อก จองตั๋วเครื่องบินไป จ.สกลนคร ราคาสูงทะลุ 1.4 หมื่นบาท
เกาหลีใต้จ่อเพิ่มการนำเข้าก๊าซ LNG จากสหรัฐ
สิงคโปร์ชี้สหรัฐทำลายระบบการค้าเสรีที่สร้างมากับมือ
เกาหลีใต้ประกาศเลือกตั้ง 3 มิถุนายน
อั้นไว้ก่อน ค่อยเติม พรุ่งนี้น้ำมันลด "เบนซิน-แก๊สโซฮอล์" ทุกชนิด ปรับราคาลง
“ปลัดฯแรงงาน” เผยจ่ายชดเชยลูกจ้างเสียชีวิต “ตึกสตง.ถล่ม” แล้ว กว่า 19 ล้าน พร้อมดูแลสิทธิผู้บาดเจ็บ ว่างงานเต็มที่
“กัน จอมพลัง” พา “คะน้า” ดาราสาว เข้าแจ้งความเอาผิด “ไฮโซเก๊” ตร.ไซเบอร์เตรียมออกหมายเรียกพรุ่งนี้
ทะเลเดือด "ฮูตี" ซัดขีปนาวุธ-โดรนถล่มเรือรบมะกัน 2 ลำโจมตีฐานทหารอิสราเอล

ดู LIVE รายการ

X

เราใช้ คุ้กกี้ เพื่อให้ทุกคนได้ประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น