เปิดโผ 10 ปรากฏการณ์ “ดาราศาสตร์” น่าติดตามตลอดปี 2566

ปรากฏการณ์ ดาราศาสตร์ 2566, ดาราศาสตร์, ดวงจันทร์เต็มดวง, ดวงจันทร์บังดาวศุกร์, จันทรุปราคาเงามัว, ดวงจันทร์, จันทรุปราคาบางส่วน, สุริยุปราคาแบบผสม, ดวงอาทิตย์, สุริยุปราคาวงแหวน, สุริยุปราคาเต็มดวง, ดาวศุกร์สว่างที่สุดในรอบปี, ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์, ฝนดาวตกเจมินิดส์, กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เวบบ์, นักดาราศาสตร์ไทย, โบราณดาราศาสตร์

เปิดโผ 10 ปรากฏกาณ์ "ดาราศาสตร์" น่าติดตามในปี 2566 รวมปรากฏการณ์ดาราศาสตร์และเหตุการณ์ในแวดวงดาราศาสตร์ตลอดทั้งปี

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ มัดรวมปรากฏการณ์ “ดาราศาสตร์” 2566 ที่น่าสนใจตลอดปี 2566 และเหตุการณ์ในแวดวงดารา ศาสตร์ตลอดทั้งปี ติดตามต่อได้ที่นี่ TOP News

 

 

ข่าวที่น่าสนใจ

 

 

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ เปิดโผ 10 เรื่อง “ดาราศาสตร์” น่าติดตามในปี 2566 มัดรวมปรากฏการณ์ทางดารา ศาสตร์และเหตุการณ์ในแวดวงดารา ศาสตร์ตลอดปี 2566

 

 

 

ปรากฏการณ์ดา ราศาสตร์ 2566

1. ดวงจันทร์เต็มดวงไกลโลกที่สุดในรอบปี (Micro Full Moon)

 

 

 

ปรากฏการณ์ ดาราศาสตร์ 2566, ดาราศาสตร์, ดวงจันทร์เต็มดวง, ดวงจันทร์บังดาวศุกร์, จันทรุปราคาเงามัว, ดวงจันทร์, จันทรุปราคาบางส่วน, สุริยุปราคาแบบผสม, ดวงอาทิตย์, สุริยุปราคาวงแหวน, สุริยุปราคาเต็มดวง, ดาวศุกร์สว่างที่สุดในรอบปี, ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์, ฝนดาวตกเจมินิดส์, กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เวบบ์, นักดาราศาสตร์ไทย, โบราณดาราศาสตร์

 

 

 

  • 6 กุมภาพันธ์ 2566 ระยะห่างจากโลกประมาณ 405,818 กิโลเมตร เวลา 01:30 น.
  • คืนดังกล่าวจะสังเกตเห็นดวงจันทร์เต็มดวงมีขนาดปรากฏเล็กกว่าปกติเล็กน้อย
  • เวลาที่เหมาะสมในการสังเกตการณ์ คือ ช่วงเย็นวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ตั้งแต่เวลาประมาณ 18:02 น. เป็นต้นไป
  • สามารถดูได้ด้วยตาเปล่า ทางทิศตะวันออก

 

2. ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกที่สุดในรอบปี และต็มดวงครั้งที่สองของเดือน (Super Blue Moon)

 

 

 

ปรากฏการณ์ ดาราศาสตร์ 2566, ดาราศาสตร์, ดวงจันทร์เต็มดวง, ดวงจันทร์บังดาวศุกร์, จันทรุปราคาเงามัว, ดวงจันทร์, จันทรุปราคาบางส่วน, สุริยุปราคาแบบผสม, ดวงอาทิตย์, สุริยุปราคาวงแหวน, สุริยุปราคาเต็มดวง, ดาวศุกร์สว่างที่สุดในรอบปี, ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์, ฝนดาวตกเจมินิดส์, กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เวบบ์, นักดาราศาสตร์ไทย, โบราณดาราศาสตร์

 

 

 

  • 31 สิงหาคม 2566 ระยะจากโลกห่างประมาณ 357,334 กิโลเมตร เวลา 08:37 น.
  • คืนดังกล่าวจะสังเกตเห็นดวงจันทร์เต็มดวงมีขนาดปรากฏใหญ่กว่าปกติเล็กน้อย
  • เวลาที่เหมาะสมในการสังเกตการณ์ คือ ช่วงเย็นวันที่ 30 สิงหาคม ตั้งแต่เวลาประมาณ 18:09 น. เป็นต้นไป
  • สามารถดูได้ด้วยตาเปล่า ทางทิศตะวันออก

 

3. ดวงจันทร์บังดาวศุกร์

  • คืนวันที่ 24 มีนาคม 2566 จะเกิดปรากฏการณ์ดวงจันทร์บังดาวศุกร์ เริ่มสังเกตการณ์ได้ในช่วงหัวค่ำทางทิศตะวันตก
  • วัตถุทั้งสองอยู่เคียงกันสูงจากขอบฟ้าประมาณ 32 องศา โดยดาวศุกร์จะเริ่มสัมผัสขอบดวงจันทร์ในเวลาประมาณ 18:37 น.
  • ดาวศุกร์ค่อย ๆ ลับหายไปด้านหลังของดวงจันทร์ และโผล่พ้นออกมาทั้งดวงอีกครั้งในเวลาประมาณ 19:46 น. อยู่สูงจากขอบฟ้าทิศตะวันตกประมาณ 16 องศา (ข้อมูลดังกล่าวคำนวณจากพื้นที่กรุงเทพมหานคร หากสังเกตการณ์ในพื้นที่อื่น ช่วงเวลาของการบังอาจจะเริ่มและสิ้นสุดไม่พร้อมกัน)

 

 

 

ปรากฏการณ์ ดาราศาสตร์ 2566, ดาราศาสตร์, ดวงจันทร์เต็มดวง, ดวงจันทร์บังดาวศุกร์, จันทรุปราคาเงามัว, ดวงจันทร์, จันทรุปราคาบางส่วน, สุริยุปราคาแบบผสม, ดวงอาทิตย์, สุริยุปราคาวงแหวน, สุริยุปราคาเต็มดวง, ดาวศุกร์สว่างที่สุดในรอบปี, ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์, ฝนดาวตกเจมินิดส์, กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เวบบ์, นักดาราศาสตร์ไทย, โบราณดาราศาสตร์

 

 

 

  • ดวงจันทร์บังดาวศุกร์ ถือเป็นปรากฏการณ์ “ดาราศาสตร์” ที่หาชมยาก เกิดขึ้นไม่บ่อยนัก และนานที ๆ จะสังเกตการณ์ได้ในประเทศไทย
  • หากชมผ่านกล้องโทรทรรศน์จะสังเกตเห็นดาวศุกร์ค่อย ๆ ลับหายไปหลังดวงจันทร์และค่อย ๆ โผล่พ้นออกมาทั้งดวงได้อย่างชัดเจน
  • ครั้งต่อไปที่สามารถสังเกตได้ในประเทศไทย คือวันที่ 14 กันยายน 2569

 

 

4. จันทรุปราคาเงามัว

  • 6 พฤษภาคม 2566 สังเกตได้ในบริเวณทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย ยุโรปตะวันออก ยุโรปใต้ แอฟริกา มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย และแอนตาร์กติกา
  • สำหรับประเทศไทยเริ่มสังเกตได้ตั้งแต่เวลาประมาณ 22.14 – 02.32 น. (เวลาท้องถิ่น ณ กรุงเทพมหานคร)
  • ดวงจันทร์จะเริ่มเคลื่อนเข้าสู่เงามัวของโลกตั้งแต่เวลาประมาณ 22.14 น. ของวันที่ 5 พฤษภาคม 2566 เข้าสู่เงามัวมากที่สุดเวลาประมาณ 00.23 น. ของวันที่ 6 พฤษภาคม 2566

 

 

 

ปรากฏการณ์ ดาราศาสตร์ 2566, ดาราศาสตร์, ดวงจันทร์เต็มดวง, ดวงจันทร์บังดาวศุกร์, จันทรุปราคาเงามัว, ดวงจันทร์, จันทรุปราคาบางส่วน, สุริยุปราคาแบบผสม, ดวงอาทิตย์, สุริยุปราคาวงแหวน, สุริยุปราคาเต็มดวง, ดาวศุกร์สว่างที่สุดในรอบปี, ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์, ฝนดาวตกเจมินิดส์, กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เวบบ์, นักดาราศาสตร์ไทย, โบราณดาราศาสตร์

 

 

 

  • จากนั้นจะค่อย ๆ เคลื่อนออกจากเงามัว จนสิ้นสุดปรากฏการณ์ในเวลาประมาณ 02.32 น.
  • ปรากฏการณ์จันทรุปราคาเงามัว เกิดจากดวงจันทร์โคจรเข้าไปในเงามัวของโลกบางส่วน ไม่ได้ผ่านเข้าไปในเงามืดของโลก ดวงจันทร์จึงไม่เว้าแหว่ง ยังคงมองเห็นดวงจันทร์เต็มดวงแต่มีความสว่างในส่วนที่อยู่ในเงามัวลดลงเล็กน้อยเท่านั้น จึงสังเกตด้วยตาเปล่าได้ไม่ชัดเจนนัก

 

 

5. จันทรุปราคาบางส่วน

  • 29 ตุลาคม 2566 สังเกตเห็นได้ในบริเวณทวีปยุโรป เอเชีย ออสเตรเลีย แอฟริกา อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ แปซิฟิก แอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย อาร์กติก แอนตาร์กติกา
  • สำหรับประเทศไทยเริ่มสังเกตได้ตั้งแต่เวลาประมาณ 01.01 – 05.26 น. (เวลาท้องถิ่น ณ กรุงเทพมหานคร)
  • ในคืนดังกล่าว ดวงจันทร์เข้าสู่เงามัวของโลก เกิดปรากฏการณ์จันทรุปราคาเงามัว เวลาประมาณ 01.01 น.
  • แสงสว่างของ ดวงจันทร์จะลดลงเล็กน้อย สังเกตด้วยตาเปล่าได้ค่อนข้างยาก จนกระทั่งเวลาประมาณ 02.35 น.

 

 

 

ปรากฏการณ์ ดาราศาสตร์ 2566, ดาราศาสตร์, ดวงจันทร์เต็มดวง, ดวงจันทร์บังดาวศุกร์, จันทรุปราคาเงามัว, ดวงจันทร์, จันทรุปราคาบางส่วน, สุริยุปราคาแบบผสม, ดวงอาทิตย์, สุริยุปราคาวงแหวน, สุริยุปราคาเต็มดวง, ดาวศุกร์สว่างที่สุดในรอบปี, ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์, ฝนดาวตกเจมินิดส์, กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เวบบ์, นักดาราศาสตร์ไทย, โบราณดาราศาสตร์

 

 

 

  • ดวงจันทร์เข้าสู่เงามืดของโลก เกิดปรากฏการณ์จันทรุปราคาบางส่วน สังเกตเห็นดวงจันทร์เต็มดวง เว้าแหว่งไปทีละน้อย เงาโลกบังมากที่สุด เวลาประมาณ 03.14 น. ประมาณร้อยละ 6 ของเส้นผ่านศูนย์กลางดวงจันทร์
  • จนสิ้นสุดปรากฏการณ์จันทรุปราคาบางส่วนในเวลาประมาณ 03.52 น.
  • รวมเวลาเกิดจันทรุปราคาบางส่วนนาน 1 ชั่วโมง 17 นาที จากนั้นดวงจันทร์เข้าสู่เงามัวของโลกอีกครั้ง และสิ้นสุดปรากฏการณ์โดยสมบูรณ์ในเวลาประมาณ 05.26 น.

 

6. สุริยุปราคา

 

 

 

ปรากฏการณ์ ดาราศาสตร์ 2566, ดาราศาสตร์, ดวงจันทร์เต็มดวง, ดวงจันทร์บังดาวศุกร์, จันทรุปราคาเงามัว, ดวงจันทร์, จันทรุปราคาบางส่วน, สุริยุปราคาแบบผสม, ดวงอาทิตย์, สุริยุปราคาวงแหวน, สุริยุปราคาเต็มดวง, ดาวศุกร์สว่างที่สุดในรอบปี, ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์, ฝนดาวตกเจมินิดส์, กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เวบบ์, นักดาราศาสตร์ไทย, โบราณดาราศาสตร์

 

 

 

  • วันที่ 20 เมษายน 2566 จะเกิดปรากฏการณ์สุริยุปราคาแบบผสม (Hybrid Solar Eclipse) เป็นสุริยุปราคาลำดับที่ 52/80 ชุดซารอสที่ 129
  • แนวคราสจะเคลื่อนจากมหาสมุทรอินเดียไปยังมหาสมุทรแปซิฟิก ส่วนใหญ่จะพาดผ่านมหาสมุทร แต่ก็พาดผ่านแผ่นดินบางส่วนที่เป็นเกาะใหญ่ ๆ ด้วย อาทิ ประเทศออสเตรเลีย ประเทศติมอร์ตะวันออก และประเทศอินโดนีเซีย (เกาะปาปัวและปาปัวตะวันตก)

 

 

 

ปรากฏการณ์ ดาราศาสตร์ 2566, ดาราศาสตร์, ดวงจันทร์เต็มดวง, ดวงจันทร์บังดาวศุกร์, จันทรุปราคาเงามัว, ดวงจันทร์, จันทรุปราคาบางส่วน, สุริยุปราคาแบบผสม, ดวงอาทิตย์, สุริยุปราคาวงแหวน, สุริยุปราคาเต็มดวง, ดาวศุกร์สว่างที่สุดในรอบปี, ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์, ฝนดาวตกเจมินิดส์, กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เวบบ์, นักดาราศาสตร์ไทย, โบราณดาราศาสตร์

 

 

 

  • ตั้งแต่เวลา 09:42 – 12:52 น. (ตามเวลาประเทศไทย) การเกิดคราสครั้งนี้ ดวงอาทิตย์จะถูกดวงจันทร์บดบังนานที่สุดเพียง 1 นาที 16 วินาที
  • สุริยุปราคาแบบผสม (Hybrid Solar Eclipse) เป็นสุริยุปราคาที่เกิดทั้ง 2 ประเภทในครั้งเดียว ได้แก่ สุริยุปราคาวงแหวน (Annular Solar Eclipse) และสุริยุปราคาเต็มดวง (Total Solar Eclipse) เนื่องจากโลกมีผิวโค้ง ทำให้แต่ละตำแหน่งบนโลกมีระยะห่างถึงดวงจันทร์ไม่เท่ากัน
  • ผู้สังเกตที่อยู่ไกลจากดวงจันทร์จะเห็นเป็นสุริยุปราคาวงแหวน ในขณะที่ผู้สังเกตที่อยู่ใกล้ดวงจันทร์มากกว่าจะเห็นสุริยุปราคาเต็มดวง

 

 

 

ปรากฏการณ์ ดาราศาสตร์ 2566, ดาราศาสตร์, ดวงจันทร์เต็มดวง, ดวงจันทร์บังดาวศุกร์, จันทรุปราคาเงามัว, ดวงจันทร์, จันทรุปราคาบางส่วน, สุริยุปราคาแบบผสม, ดวงอาทิตย์, สุริยุปราคาวงแหวน, สุริยุปราคาเต็มดวง, ดาวศุกร์สว่างที่สุดในรอบปี, ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์, ฝนดาวตกเจมินิดส์, กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เวบบ์, นักดาราศาสตร์ไทย, โบราณดาราศาสตร์

 

 

 

  • สำหรับประเทศไทยเห็นเป็นสุริยุปราคาบางส่วน ตั้งแต่เวลาประมาณ 10:30 – 11:33 น.
  • เห็นได้ในพื้นที่ 9 จังหวัดภาคใต้ แต่ละพื้นที่ดวงอาทิตย์จะถูกบดบังมากที่สุดไม่เท่ากัน ดังนี้

– กระบี่ (ร้อยละ 0.01)

– นครศรีธรรมราช (ร้อยละ 0.32)

– ตรัง (ร้อยละ 0.61)

– พัทลุง (ร้อยละ 0.93)

– สงขลา (ร้อยละ 1.77)

– สตูล (ร้อยละ 1.77)

– ปัตตานี (ร้อยละ 2.82)

– ยะลา (ร้อยละ 3.22)

– และนราธิวาส (ร้อยละ 4.06)

  • รวมถึงบางส่วนของตราด (ร้อยละ 0.02) อุบลราชธานี (ร้อยละ 0.1) และศรีสะเกษ (ร้อยละ 0.01)

 

 

 

7. ดาวศุกร์สว่างที่สุดในรอบปี

  • เป็นช่วงที่ดาวศุกร์มีขนาดเสี้ยวค่อนข้างใหญ่ และโคจรห่างจากโลกในระยะที่เหมาะสม มีค่าอันดับความสว่างปรากฏมากถึง -4.6
  • หากสังเกตผ่านกล้องโทรทรรศน์ดาวศุกร์จะปรากฏเป็นเสี้ยวคล้ายดวงจันทร์
  • สำหรับในช่วงวันอื่น ๆ แม้ดาวศุกร์จะมีเสี้ยวที่หนากว่า แต่ด้วยตำแหน่งอยู่ที่ห่างจากโลก ความสว่างจึงลดลงตามไปด้วย

 

 

 

ปรากฏการณ์ ดาราศาสตร์ 2566, ดาราศาสตร์, ดวงจันทร์เต็มดวง, ดวงจันทร์บังดาวศุกร์, จันทรุปราคาเงามัว, ดวงจันทร์, จันทรุปราคาบางส่วน, สุริยุปราคาแบบผสม, ดวงอาทิตย์, สุริยุปราคาวงแหวน, สุริยุปราคาเต็มดวง, ดาวศุกร์สว่างที่สุดในรอบปี, ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์, ฝนดาวตกเจมินิดส์, กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เวบบ์, นักดาราศาสตร์ไทย, โบราณดาราศาสตร์

 

 

 

  • ในปี 2566 ดาวศุกร์จะปรากฏสว่างที่สุด 2 ครั้ง ได้แก่

ช่วงหัวค่ำ ในวันที่ 10 กรกฎาคม 2566 ปรากฏสว่างเด่น เห็นชัดเจนด้วยตาเปล่าทางทิศตะวันตก หลังดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าจนถึงเวลาประมาณ 21.09 น.

ช่วงเช้า ในวันที่ 18 กันยายน 2566 ปรากฏสว่างเด่น เห็นชัดเจนด้วยตาเปล่าทางทิศตะวันออก ตั้งแต่เวลา 03.25 น. จนถึงดวงอาทิตย์ขึ้น

 

 

8. ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี

 

 

 

ปรากฏการณ์ ดาราศาสตร์ 2566, ดาราศาสตร์, ดวงจันทร์เต็มดวง, ดวงจันทร์บังดาวศุกร์, จันทรุปราคาเงามัว, ดวงจันทร์, จันทรุปราคาบางส่วน, สุริยุปราคาแบบผสม, ดวงอาทิตย์, สุริยุปราคาวงแหวน, สุริยุปราคาเต็มดวง, ดาวศุกร์สว่างที่สุดในรอบปี, ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์, ฝนดาวตกเจมินิดส์, กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เวบบ์, นักดาราศาสตร์ไทย, โบราณดาราศาสตร์

 

 

 

  • 27 สิงหาคม 2566 ดาวเสาร์จะโคจรมาอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามดวงอาทิตย์ (Saturn Opposition)
  • หมายถึง ตำแหน่งที่ดวงอาทิตย์ โลก และดาวเสาร์ เรียงอยู่ในเส้นตรงเดียวกัน มีโลกอยู่ตรงกลาง
  • ส่งผลให้ดาวเสาร์อยู่ในตำแหน่งใกล้โลกที่สุดในรอบปี ห่างประมาณ 1,310 ล้านกิโลเมตร
  • ในวันดังกล่าว เมื่อดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า ดาวเสาร์จะปรากฏสว่างทางทิศตะวันออก
  • สังเกตได้ด้วยตาเปล่า ตลอดคืนจนถึงรุ่งเช้า

 

 

9. ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี

 

 

 

 

 

 

  • 3 พฤศจิกายน 2566 ดาวพฤหัสบดีจะโคจรมาอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามดวงอาทิตย์ (Jupiter Opposition)
  • หมายถึง ตำแหน่งที่ดวงอาทิตย์ โลก และดาวเสาร์ เรียงอยู่ในเส้นตรงเดียวกัน มีโลกอยู่ตรงกลาง
  • ส่งผลให้ดาวพฤหัสบดีอยู่ในตำแหน่งใกล้โลกที่สุดในรอบปี ห่างจากโลกประมาณ 595 ล้านกิโลเมตร
  • ในวันดังกล่าว เมื่อดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า ดาวพฤหัสบดีจะปรากฏสว่างทางทิศตะวันออก
  • สังเกตได้ด้วยตาเปล่า ตลอดคืนจนถึงรุ่งเช้า

 

 

 

 

ฝนดาวตกน่าติดตามโดดเด่นที่สุดในปี 2566 ได้แก่

1. ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์

  • หรือฝนวันดาวตกวันแม่ ในคืนวันที่ 12 – เช้า 13 สิงหาคม
  • คาดการณ์อัตราการตกสูงสุด 100 ดวง/ ชั่วโมง

2. ฝนดาวตกเจมินิดส์

  • คืน 14 – เช้า 15 ธันวาคม
  • คาดการณ์อัตราการตกสูงสุด 150 ดวง/ ชั่วโมง

 

 

 

เกาะกระแสวงการ “ดาราศาสตร์” โลก

หลายประเทศทั่วโลกกำหนดภารกิจส่งยานไปสำรวจระบบสุริยะ ได้แก่

  • การสำรวจดวงอาทิตย์ : ยาน Aditya-L1 (อินเดีย)
  • การสำรวจดวงจันทร์ : โครงการ Commercial Lunar Payload Services (CLPS) ของภาคเอกชนร่วมกับภาครัฐของสหรัฐอเมริกา ยานสำรวจจากองค์การอวกาศของภาครัฐ อาทิ Chandrayaan-3 ของอินเดีย Luna 25 ของรัสเซีย SLIM ของญี่ปุ่น และ Seven sisters ของออสเตรเลีย
  • การสำรวจวัตถุอื่นในระบบสุริยะ : Psyche ยานโคจรรอบดาวเคราะห์น้อยของสหรัฐอเมริกา/ JUICE (Jupiter Icy Moons Explorer) ยานสำรวจดวงจันทร์น้ำแข็งขนาดใหญ่ของดาวพฤหัสบดี (ยูโรปา แกนิมีด คัลลิสโต) ขององค์การอวกาศยุโรป (ESA)

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เว็บบ์ กับสุดยอดการค้นพบครั้งใหม่ในอนาคต

  • ติดตามกันต่อไปว่ากล้องโทรทรรศน์อวกาศที่ทันสมัยที่สุดนี้จะไขปริศนาใดอีกในเอกภพ
  • และจะนำมาซึ่งการค้นพบใหม่ๆ ที่ไม่คาดฝันอะไรอีกบ้าง

 

 

ปรากฏการณ์ ดาราศาสตร์ 2566, ดาราศาสตร์, ดวงจันทร์เต็มดวง, ดวงจันทร์บังดาวศุกร์, จันทรุปราคาเงามัว, ดวงจันทร์, จันทรุปราคาบางส่วน, สุริยุปราคาแบบผสม, ดวงอาทิตย์, สุริยุปราคาวงแหวน, สุริยุปราคาเต็มดวง, ดาวศุกร์สว่างที่สุดในรอบปี, ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์, ฝนดาวตกเจมินิดส์, กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เวบบ์, นักดาราศาสตร์ไทย, โบราณดาราศาสตร์

 

 

 

จับตางานวิจัยดารา ศาสตร์ที่โดดเด่นระดับโลก

  • ผลงานของนักดารา ศาสตร์ไทยคลื่นลูกใหม่ ในหลากหลายสาขา
  • ได้แก่ จักรวาลวิทยาและฟิสิกส์ดาราศาสตร์พลังงานสูง จักรวาลวิทยาและดาราศาสตร์ทฤษฎี ดาราศาสตร์วิทยุ ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ และชีวดาราศาสตร์ ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ดาวฤกษ์

ก้าวต่อไปของกล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ

  • เตรียมเปิดดำเนินการกล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ เก็บข้อมูลวัตถุท้องฟ้าจริง เพื่อศึกษาวิจัยดารา ศาสตร์ในช่วงคลื่นวิทยุ
  • พร้อมวางแผนพัฒนากำลังคน สร้างนักดารา ศาสตร์วิทยุรุ่นใหม่ เพื่อร่วมทำงานวิจัยในระดับ World Class

 

 

 

งานพัฒนาเทคโนโลยีและวิศวกรรมดาราศาสตร์ขั้นสูง

  • เผยสุดยอดการพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีคลื่นวิทยุความถี่สูง และอุปกรณ์ทัศนศาสตร์ที่ต่อยอดจากดารา ศาสตร์ไปสู่สาขาอื่น
  • อาทิ เครื่องรับสัญญาวิทยุย่านคิว ย่านซี โคโรนากราฟรูปแบบใหม่ สเปกโทรกราฟความละเอียดต่ำ ฯลฯ

โบราณดาราศาสตร์

  • ดารา ศาสตร์ย้อนรอยโบราณคดี การใช้ดารา ศาสตร์เป็นเครื่องมือที่ช่วยศึกษาประวัติศาสตร์และโบราณคดีผ่านกระบวนการวิทยาศาสตร์
  • ศึกษาการวางทิศของศาสนสถาน และโบราณสถาน ได้แก่ วัดพระธาตุดอยสุเทพ ปราสาทพนมรุ้ง และปราสาทพิมาย
  • ที่เชื่อมโยงกับปรากฏการณ์ทางดารา ศาสตร์ ความเชื่อ ประเพณี และปฏิทินสุริย-จันทรคติ
  • การใช้ตำแหน่งดวงดาวสำคัญ ร่วมกับตำแหน่งดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
  • สอบเทียบวันเดือนปีในจารึกเป็นปฏิทินเกรกอเรียนได้ ที่สำคัญมีการประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องการหมุนควงของจุดวิษุวัต มาใช้ในการไขอายุของศาสนสถานและโบราณสถานได้

 

 

 

ปรากฏการณ์ ดาราศาสตร์ 2566, ดาราศาสตร์, ดวงจันทร์เต็มดวง, ดวงจันทร์บังดาวศุกร์, จันทรุปราคาเงามัว, ดวงจันทร์, จันทรุปราคาบางส่วน, สุริยุปราคาแบบผสม, ดวงอาทิตย์, สุริยุปราคาวงแหวน, สุริยุปราคาเต็มดวง, ดาวศุกร์สว่างที่สุดในรอบปี, ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี, ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์, ฝนดาวตกเจมินิดส์, กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เวบบ์, นักดาราศาสตร์ไทย, โบราณดาราศาสตร์

 

 

 

หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษาขอนแก่น

  • หอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชนเต็มรูปแบบแห่งที่ 4 ของไทย พร้อมเปิดดำเนินการปลายปี 2566

ดารา ศาสตร์เพื่อคนทั้งมวล

  • ผลักดันโครงการนำร่องเพื่อศึกษา และผลิตต้นแบบสื่อการเรียนรู้ดา ราศาสตร์สำหรับผู้บกพร่องทางการมองเห็น
  • เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และกระตุ้นให้ผู้บกพร่องทางการมองเห็น สามารถสร้างจินตนาการ และเรียนรู้ดารา ศาสตร์ได้ทัดเทียมกับบุคคลทั่วไป

 

 

 

ข้อมูล : NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด

สพฐ. จับมือผู้บริหารเขตพื้นที่ชายแดนใต้ ขับเคลื่อนนโยบายเชิงรุก ร่วมใจสร้างคุณภาพทุกห้องเรียน
"สรวงศ์" ลุยแก้ปัญหา "เกาะกูด" ดึงนทท.ต่างชาติ ระดับไฮเอนด์ กระตุ้นการท่องเที่ยวในพื้นที่
ส่องเงินรางวัล "โอปอล สุชาตา" หลังคว้ารองอันดับ 3 เวที Miss Universe 2024
เปิดจำนวนเงินรางวัล "Miss Universe 2024" หลังสาวงามเดนมาร์ก คว้ามงกุฎไปครอง
“บิ๊กโจ๊ก-เสรีพิศุทธ์” ให้การป.ป.ช. ลือสนั่น คดีช้้น 14 มีมูล จ่อเอาผิดกราวรูด
"กิตติรัตน์" เคลื่อนไหวแล้ว โพสต์ทุกเสียงค้านคือเครื่องเตือนใจ ให้ปฏิบัติดี
“รับน้องขึ้นดอย” นศ.โชว์สปิริตฝ่า “โค้งขุนกัณฑ์” พร้อมเพรียงสุดขนลุก!
เล่นผิดคนแล้ว “กัน จอมพลัง” ดับซ่าส์ “โล้นปีนเสา” แจ้งความจับคาผ้าเหลือง
"พิชัย" นำทีมเจรจา Google ขยายลงทุน คุย Walmart เปิดโอกาสสินค้าไทยวางขายเพิ่ม
สุดห่วง "สามี" วอนช่วยตามหา "ภรรยา" หายตัวปริศนา หลังเครียดสูญเงินลงทุน “ดิไอคอน” นับแสนบาท

ดู LIVE รายการ

X

เราใช้ คุ้กกี้ เพื่อให้ทุกคนได้ประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น