นักวิทย์ฯ เปลี่ยนพลาสติกเป็น “เพชร” เม็ดเล็ก ๆ โดยใช้เลเซอร์ยิง

ขวด พลาสติก ใส, ขวด พลาสติก ประดิษฐ์ อะไร ได้ บ้าง, เพชร, เพชรนาโนเมตร, ยิงเลเซอร์, ยิงเลเซอร์, ขวดพลาสติก, ขยะพลาสติก

นักวิทย์ฯ สุดเจ๋ง เปลี่ยนขวดพลาสติก ให้กลายเป็น "เพชร" เม็ดเล็ก ๆ โดยใช้เลเซอร์ยิง

ฮือฮาหนักมาก หลังนักวิทย์ฯ สามารถเปลี่ยนขวดพลาสติกธรรมดา ขวด พลาสติก ใส ขวด พลาสติก ประดิษฐ์ อะไร ได้ บ้าง ให้กลายเป็น “เพชร” ระดับนาโนเมตร ด้วยวิธีการยิงเลเซอร์ ติดตามต่อได้ที่นี่ TOP News

ข่าวที่น่าสนใจ

วงการวิทยาศาสตร์สร้างความฮือฮาอีกครั้ง เมื่อนักวิทย์ฯ จากแคลิฟอร์เนีย สามารถใช้ขวดพลาสติกธรรมดา เปลี่ยนเป็น “เพชร” ได้หลังก่อนหน้านี้ เคยมีการวิจัยว่า สามารถสร้างเพ ชรขนาดเล็กมาก ๆ ระดับนาโนเมตรจากอะตอมของคาร์บอนและไฮโดรเจน ซึ่งต้องใช้แรงดันสูงมากเป็นพิเศษ

ขวด พลาสติก ใส, ขวด พลาสติก ประดิษฐ์ อะไร ได้ บ้าง, เพชร, เพชรนาโนเมตร, ยิงเลเซอร์, ยิงเลเซอร์, ขวดพลาสติก, ขยะพลาสติก

โดยทีมนักวิทย์ฯ ได้ใช้วิธีการยิงเลเซอร์ไปที่ขวดพลาสติก ทำให้อุณหภูมิสูงถึง 3,200 °C (องศาเซลเซียส) – 5,800 °C ซึ่งคลื่นกระแทกที่เกิดจากพลังงานเลเซอร์ จะสร้างความดันระดับสูงกลายเป็นเพ ชรขนาดนาโนเมตรพร้อมกับน้ำส่วนหนึ่ง ที่สามารถนำไฟฟ้าได้ดีกว่าน้ำทั่วไปที่เรียกว่า น้ำซูเปอร์ไอออนิก

การค้นพบในครั้งนี้ อาจนำไปสู่วิวัฒนาการในอนาคต ไม่ว่าจะเป็น

  • เซนเซอร์ควอนตัม
  • สารในการผลิตยา
  • การแยกอะตอมคาร์บอนจากคาร์บอนไดออกไซด์

ขวด พลาสติก ใส, ขวด พลาสติก ประดิษฐ์ อะไร ได้ บ้าง, เพชร, เพชรนาโนเมตร, ยิงเลเซอร์, ยิงเลเซอร์, ขวดพลาสติก, ขยะพลาสติก

Dominik Kraus ผู้ร่วมวิจัยและศาสตราจารย์สถาบันฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยรอสต็อกกล่าวว่า กระบวนการเหล่านี้ไม่ใช่ทางเลือกหลักในการแก้ปัญหามลภาวะจากขยะพลาสติก แต่นับเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการผลิตเพ ชรราคาถูก ซึ่งการใช้เลเซอร์นี้เป็นทางเลือกที่ควบคุมง่ายกว่า และประงบประมาณมากกว่าอีกด้วย

ขวด พลาสติก ใส, ขวด พลาสติก ประดิษฐ์ อะไร ได้ บ้าง, เพชร, เพชรนาโนเมตร, ยิงเลเซอร์, ยิงเลเซอร์, ขวดพลาสติก, ขยะพลาสติก

ซึ่งนอกจากจะเป็นการค้นพบครั้งใหม่แล้ว เหตุผลที่แท้จริงในการทดลองครั้งนี้ เพื่อศึกษาดาวเคราะห์อย่างดาวเนปจูนและดาวยูเรนัส ซึ่งนักวิทย์ฯ เคยตั้งทฤษฎีว่า “เพ ชร” อาจเกิดในดาว เนื่องจากภายในดาวเคราะห์มักจะประกอบไปด้วย

  • ออกซิเจน
  • คาร์บอน
  • ไฮโดรเจน

และผลลัพธ์ในครั้งนี้ก็แสดงให้เห็นว่าเพ ชรสามารถเกิดขึ้นได้ในที่ที่ความดันไม่สูงได้เช่นกัน

ข้อมูล : livescience

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด

เครือซีพี พร้อมกลับเข้าสู่โหมดการทำงานปกติ หลังอาคารสำนักงานผ่านการตรวจสอบโดยวิศวกรอิสระ ตามมติการประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการผลกระทบจากแผ่นดินไหว
เคียงข้างทุกวิกฤต! ซีพีเอฟ ร่วมร้อยเรียงความดี ส่งความห่วงใยผ่านอาหาร-สิ่งของจำเป็น หนุนภารกิจค้นหาต่อเนื่อง
"อธิบดี DSI" ถกด่วน เร่งสอบปม "ตึก สตง." ถล่ม หากพบความผิด รับเป็นคดีพิเศษทันที
"สรรเพชญ" ร่วมทีมแพทย์ วิศวกร ตรวจโครงสร้างอาคาร เพิ่มมั่นใจ รพ.สงขลา ปลอดภัย
โปรดแต่งตั้ง "สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์" เป็นเจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดญาณเวศกวัน
เช็กเลย ค่าทางด่วน-มอเตอร์เวย์ฟรี 4 เส้นทาง ช่วงสงกรานต์ 11-17 เม.ย.นี้
ตรวจหวย ผลสลากกินแบ่งรัฐบาล งวดประจำวันที่ 1 เมษายน 2568
"นฤมล" นำขรก.ไว้อาลัยสูญเสียเหตุแผ่นดินไหว ทำบุญวันสถาปนาก.เกษตรฯ 133 ปี ย้ำนโยบายแจกโฉนดเพื่อการเกษตร
"สยามพารากอน" มอบประสบการณ์ระดับโลก เดินหน้าสร้างเชื่อมั่น จัดกิจกรรมแฟนมีตติ้ง "อเล็กซ์ อัลบอน อังศุสิงห์" นักแข่งF1 ชื่อดัง 1 เม.ย.นี้
ครม.ไฟเขียว แผนปฏิบัติการร่วมลาว-เมียนมา แก้ควันไฟป่าข้ามแดน

ดู LIVE รายการ

X

เราใช้ คุ้กกี้ เพื่อให้ทุกคนได้ประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น