รุ่นลูก
XBB.1.16.1 (S:T547I) ทั่วโลกพบ 909 ราย ประเทศไทยพบ 1 ราย
รุ่นหลาน
XBB.1.16.1.1 (T3802C): นามแฝง FU.1 ทั่วโลกพบ 122 ราย ประเทศไทยยังไม่พบ
XBB.1.16.1.2 (C8692T): นามแฝง FU.2 ทั่วโลกพบ 68 ราย ประเทศไทยยังไม่พบ
XBB.1.16.2 (ORF3a:V13L, ORF1a:P926H) ทั่วโลกพบ 232 ราย ประเทศไทยพบ 6 ราย
XBB.1.16.3 (A2893C) ทั่วโลกพบ 72 ราย ประเทศไทยพบ 1 ราย
ศูนย์จีโนมฯ รพ. รามาธิบดี ได้ทำการวิเคราะห์จากรหัสพันธุกรรมโควิด-19 ทั้งจีโนมพบว่า
โอไมครอนลูกผสม XBB.1.16.1 มีความได้เปรียบในการเติบโต-แพร่ระบาด (relative growth advantage)
เหนือกว่า XBB.1.16 ประมาณ 9%
โอไมครอนลูกผสม XBB.1.16.1.1 มีความได้เปรียบในการเติบโต-แพร่ระบาด (relative growth advantage)
เหนือกว่า XBB.1.16 ประมาณ 29%
โอไมครอนลูกผสม XBB.1.16.1.2 มีความได้เปรียบในการเติบโต-แพร่ระบาด (relative growth advantage)
เหนือกว่า XBB.1.16 ประมาณ 20%
โอไมครอนลูกผสม XBB.1.16.2 มีความได้เปรียบในการเติบโต-แพร่ระบาด (relative growth advantage)
เหนือกว่า XBB.1.16 ประมาณ 1%
สรุปได้ว่า ความได้เปรียบในการเติบโต-แพร่ระบาด ระหว่าง XBB.1.16 และ XBB.1.16 ที่กลายพันธุ์ไปในรุ่นลูก รุ่นหลาน ไม่แตกต่างกันมากนัก
ในอาเซียนประเมินว่าสิงคโปร์จะมีการระบาดของโอไมครอนลูกผสมสายพันธุ์ย่อย XBB.1.16 มากที่สุด
ส่วนโอไมครอน XBB.1.16 รุ่นลูก หรือรุ่นหลานจะกลายพันธุ์ก่อให้เกิดอาการติดเชื้อรุนแรงหรือไม่ คงต้องเฝัาติดตาม