ฝุ่นยังคลุ้งหนัก เปิด 12 เขต ค่าฝุ่นพิษ PM 2.5 พุ่งสูงสุด ควรสวมหน้ากากอนามัย

ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร เผย ฝุ่นยังคลุ้งหนัก เปิด 12 เขต ค่าฝุ่นพิษ PM 2.5 พุ่งสูงสุด ควรสวมหน้ากากอนามัย

ฝุ่นยังคลุ้งหนัก เปิด 12 เขต ค่าฝุ่นพิษ PM 2.5 พุ่งสูงสุด ควรสวมหน้ากากอนามัย – Top News รายงาน

ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร ขอรายงานสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ในกรุงเทพมหานคร ประจำวันที่ 24 มีนาคม 2568 เวลา 07:00 น.  ค่าเฉลี่ยของกรุงเทพมหานคร 66.3 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (มคก./ลบ.ม.)

เปิด 12 อันดับ ของค่าฝุ่นPM2.5 เขตสูงสุดในกรุงเทพมหานคร
1 เขตหนองแขม 80.5 มคก./ลบ.ม.
2 เขตทวีวัฒนา 79.9 มคก./ลบ.ม.
3 เขตบึงกุ่ม 76.9 มคก./ลบ.ม.
4 เขตสาทร 76.2 มคก./ลบ.ม.
5 เขตบางนา 75.8 มคก./ลบ.ม.
6 เขตตลิ่งชัน 75.3 มคก./ลบ.ม.
7 เขตบางขุนเทียน 74.6 มคก./ลบ.ม.
8 เขตคลองสามวา 73.5 มคก./ลบ.ม.
9 เขตภาษีเจริญ 73.4 มคก./ลบ.ม.
10 เขตบางเขน 73.4 มคก./ลบ.ม.
11 เขตจอมทอง 73 มคก./ลบ.ม.
12 เขตบางกอกใหญ่ 72.8 มคก./ลบ.ม.


PM 2.5

ข่าวที่น่าสนใจ


1️⃣กรุงเทพเหนือ
64.1 – 73.4 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ

2️⃣กรุงเทพตะวันออก
56.6 – 76.9 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ

3️⃣กรุงเทพกลาง
62.3 – 72 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ

4️⃣กรุงเทพใต้
61.1 – 76.2 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ

5️⃣กรุงธนเหนือ
39 – 79.9 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ

6️⃣กรุงธนใต้
59 – 80.5 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ

▶️ฝุ่นละอองมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
ภาพรวม : คุณภาพอากาศอยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ 🟠


🩺 ข้อแนะนำสุขภาพ:
🔴คุณภาพอากาศระดับสีแดง: มีผลกระทบต่อสุขภาพ
ประชาชนทุกคน
▪️งดกิจกรรมกลางแจ้ง
▪️หากมีความจำเป็นต้องทำกิจกรรมกลางแจ้งให้ใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองทุกครั้ง เช่น หน้ากากป้องกัน PM2.5
▪️หากมีอาการผิดปกติให้รีบไปพบแพทย์
▪️ผู้ที่มีโรคประจำตัว ควรอยู่ในพื้นที่ปลอดภัยจากมลพิษทางอากาศ ให้เตรียมยาและอุปกรณ์ที่จำเป็นให้พร้อมและปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์อย่างเคร่งครัด

🟠 คุณภาพอากาศระดับสีส้ม: เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ
▪️ประชาชนทั่วไป : ใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่น หน้ากากป้องกัน PM2.5 ทุกครั้งที่ออกนอกอาคาร
จำกัดระยะเวลาในการทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกายกลางแจ้งที่ใช้แรงมาก
ควรสังเกตอาการผิดปกติ เช่น ไอ หายใจลำบาก ระคายเคืองตา
▪️ประชาชนกลุ่มเสี่ยง : ใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่น หน้ากากป้องกัน PM2.5 ทุกครั้งที่ออกนอกอาคาร
เลี่ยงการทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกายกลางแจ้งที่ใช้แรงมาก ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ หากมีอาการผิดปกติให้รีบไปพบแพทย์

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด

"ชาวเน็ตจีน" รุมจวกตึกสตง.ถล่ม "บ.จีน" ไล่ลบข้อมูลเกลี้ยงเหมือนไม่เคยมีอยู่
"ธรรมนัส" ปัดวิจารณ์ลือปรับ "อัครา" พ้นครม. ชี้เป็นโควต้าเพื่อไทย ยันไม่ก้าวก่ายถือเป็นอำนาจนายกฯ
"นายกฯ" ถามกลางวงประชุม ใครรับผิดชอบ SMS แจ้งข่าวแผ่นดินไหว ลั่นช้าเกินสั่งการตั้งแต่ 14.00 จี้ " ปภ.-กสทช." เร่งปรับปรุง Cell Broadcast
"ผู้ว่าการ กทพ." ยืนยัน ทางพิเศษให้บริการตามปกติ ยกเว้นทางขึ้นลงด่านฯ ดินแดง
ช้าง อเมเจอร์ แชมเปี้ยนชิพ’ ฤดูกาล 2025 หา แชมป์-ผู้โชคดี ร่วมท่องเที่ยวออกรอบ ต้าหลี่-ลี่เจียง ประเดิมสนามแรก โลตัส วัลเล่ย์ฯ
สวนนงนุชพัทยา จัดของขวัญฉลองปีใหม่ไทยเที่ยวฟรีตลอดเดือนเมษายน และเข้าฟรีทุกวันตลอดชีวิต
"กรมโยธาธิการและผังเมือง" แถลงการณ์ ตรวจสอบความมั่นคงของอาคาร หลังเหตุแผ่นดินไหว
"ผู้ว่าการการทางพิเศษฯ" ระดมวิศวกรตรวจสอบ ความปลอดภัยทางพิเศษทุกสาย
"ทูตเมียนมา" ลงพื้นที่ติดตามการค้นหาผู้สูญหาย จากเหตุตึกสตง.ถล่ม เผยยังไม่รู้จำนวนแรงงานเมียนมาที่แน่ชัด
"ดีอี" เตือนข่าวปลอม “กลาโหมไฟเขียว หากสถานการณ์ชายแดนไทยกัมพูชาผิดปกติ ให้กองทัพดำเนินการได้ทันที” หวั่นทำ ปชช.เข้าใจผิด เกิดความสับสน

ดู LIVE รายการ

X

เราใช้ คุ้กกี้ เพื่อให้ทุกคนได้ประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น