รวม 4 ปรากฏการณ์ “ดาราศาสตร์” เดือนกันยายน ที่ห้ามพลาด

ดาราศาสตร์, ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์, ดาวเคียงเดือน, ดาวพฤหัสบดีเคียงดวงจันทร์, ดาวเสาร์เคียงจันทร์

รวม 4 ปรากฏการณ์ "ดาราศาสตร์" เดือนกันยายน ที่สายดูดาวห้ามพลาด มีวันไหนบ้าง เช็คเลย!

สายดูดาวห้ามพลาด! เปิด 4 ปรากฏการณ์ “ดาราศาสตร์” 2565 ประจำเดือนกันยายน มีวันไหนบ้าง ติดตามต่อได้ที่นี่ TOP News

ข่าวที่น่าสนใจ

เตรียมพบ 4 ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติในทางดารา ศาสตร์ที่สำคัญหาดูได้ในประเทศไทย ไม่ต้องไปไกลถึงต่างประเทศ ในเดือนกันยายนนี้ มีอะไรบ้างไปดูเลย

 

 

 

8 กันยายน 2565 ปรากฏการณ์ดาวเสาร์เคียงจันทร์

  • เป็นปรากฏการณ์ที่ดวงจันทร์และดาวเคราะห์เปลี่ยนตำแหน่งไปเรื่อย ๆ ตามคาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์
  • ดังนั้น การที่ดวงจันทร์และดาวเคราะห์ปรากฏบนท้องฟ้าในทิศเดียวกัน หรือเคลื่อนที่มาอยู่ในตำแหน่งใกล้เคียงกันจึงถือเป็นเรื่องปกติ

 

 

 

ดาราศาสตร์, ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์, ดาวเคียงเดือน, ดาวพฤหัสบดีเคียงดวงจันทร์, ดาวเสาร์เคียงจันทร์

 

 

 

คืนวันที่ 11 กันยายน – เช้า 12 กันยายน 2565 ดาวพฤหัสบดีเคียงดวงจันทร์ 

  • หากสภาพอากาศเป็นใจ ฟ้าใสไร้ฝน สามารถดูด้วยตาเปล่าได้ทั่วประเทศ
  • ผู้สนใจรอชมปรากฏการณ์ดา ราศาสตร์ในคืนดังกล่าวได้  ดาวเคียงเดือนจะส่องสว่างสวยงามมากเนื่องจาก ดาวพฤหัสบดีโคจรมาใกล้โลก

 

 

 

ดาราศาสตร์, ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์, ดาวเคียงเดือน, ดาวพฤหัสบดีเคียงดวงจันทร์, ดาวเสาร์เคียงจันทร์

23 กันยายน 2565 วันศารทวิษุวัต (Autumnal Equinox)

  • ดวงอาทิตย์ตั้งฉากกับเส้นศูนย์สูตร ขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตกพอดี
  • ทำให้ช่วงเวลากลางวันเท่ากับกลางคืน เรียกว่า วันวสันตวิษุวัต ถือเป็นวันเปลี่ยนฤดูกาล
  • ประเทศทางซีกโลกเหนือ ย่างเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิ ส่วนซีกโลกใต้เข้าสู่ฤดูใบไม้ร่วง

 

 

 

27 กันยายน 2565 ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี

  • เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นทุก ๆ 13 เดือน
  • ดาวพฤหัสบดีจะโคจรเข้ามาอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามดวงอาทิตย์​ ดวงอาทิตย์ โลก และดาวพฤหัสบดีจะเรียงตัวอยู่ในแนวเดียวกันโดยมีโลกอยู่ตรงกลาง
  • เป็นตำแหน่งใกล้โลกมากที่สุดในรอบปี ห่างจากโลกประมาณ 600 ล้านกิโลเมตร
  • เมื่อดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า จะเห็นดาวพฤหัสบดีปรากฏสว่างทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ จากนั้นจะสังเกตได้ยาวนานจนถึงรุ่งเช้า
  • หากฟ้าใส สามารถเห็นชัดเจนด้วยตาเปล่า
  • นอกจากนี้ คืนดังกล่าวยังมีดาวเสาร์ปรากฏสว่างถัดจากดาวพฤหัสบดีไปทางทิศตะวันตกอีกด้วย

 

 

ดาราศาสตร์, ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์, ดาวเคียงเดือน, ดาวพฤหัสบดีเคียงดวงจันทร์, ดาวเสาร์เคียงจันทร์

 

 

 

ข้อมูล : Telescope & Astronomy Thailand (กล้องดูดาวและดาราศาสตร์ประเทศไทย)

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด

สถาบันเหล็กฯ ออกแถลงการณ์ โต้ทนาย "ซินเคอหยวน" ยันเครื่องทดสอบเหล็กแม่นยำ ถูกต้องตามมาตรฐานทุกอย่าง
Watt-D แจ้งเตือน ระวัง "มิจฉาชีพ" แอบอ้างเป็นพนักงาน PEA หลอก Add LINE
ทั่วโลกร่วมไว้อาลัยโป๊ปฟรานซิส
“หมอปลาย” ทักแรง! ภาคอีสานระวัง “ภูเขาไฟ” ดับไปแล้ว กำลังจะตื่นอีก
“นาซา” เผยข้อมูลช็อก! แผ่นดินพม่าเคลื่อนตัว 6 เมตร จ่อปรับผังเมืองเนปิดอว์
ผวาชักศึกเข้าไทย! “พม่า KNU” เหิมหนัก โบกธงฉลองในแผ่นดินไทย
ปภ.จับมือ "3 ค่ายมือถือ" ทดสอบส่งข้อความเตือนภัย พ.ค.นี้
"นายกฯ" นำเปิดโครงการ "SML ส่งตรงโอกาสถึงชุมชน โดยชุมชน เพื่อชุมชน" เน้นผลสำเร็จเริ่มจากยุคไทยรักไทย
เซเว่น อีเลฟเว่น ชวนคนไทยร่วมเปลี่ยนแปลงโลก ในวัน Earth Day 2025 ลดการใช้พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง ลดการใช้พลังงาน ในธีม“พลังของเรา โลกของเรา”เพื่ออนาคตที่ยั่งยืน
ซีพีจับมือทุกภาคส่วน ปักหมุด ‘เกาะสุกร’ จ.ตรัง ลงนาม MOU สร้างโมเดลต้นแบบจัดการขยะยั่งยืน มุ่งต่อยอดสู่เครือข่ายสิ่งแวดล้อมภาคใต้

ดู LIVE รายการ

X

เราใช้ คุ้กกี้ เพื่อให้ทุกคนได้ประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น