ไขข้อสงสัย ตำแหน่ง “สิว” สามารถบอกโรคได้จริงไหม เช็คเลย

สิว, ตำแหน่งสิวบอกโรค, ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม, สิวรุนแรง, สิวเห่อ, สิว เกิด จาก อะไร, สิ ว ขึ้น ใต้ คาง

โซเชียลแชร์สนั่น ชี้ ตำแหน่ง "สิว" สามารถบอกโรคได้ ไขข้อสงสัย เรื่องจริงหรือข่าวลือ สถาบันโรคผิวหนังมีคำตอบให้แล้ว

“สิว” สิ ว ขึ้น ใต้ คาง ลือสะพัด แห่แชร์สนั่นโซเชียล ตำแหน่งสามารถบอกโรคได้ เช็คให้ชัวร์ก่อนแชร์ เรื่องจริงหรือข่าวลือ สถาบันโรคผิวหนัง พร้อมไขข้อสงสัย เช็คคำตอบได้ที่นี่ TOP News

ข่าวที่น่าสนใจ

เพราะเรื่องความสวยงามความงามเป็นเรื่องสำคัญ ยิ่งมีการแชร์บนโซเชียลกันว่าตำแหน่ง “สิว” บอกโรคได้ หลายคนก็รีบแชร์ โดยไม่ได้เช็คว่าข้อมูลดังกล่าวสามารถเชื่อถือได้หรือไม่? TOP News พร้อมไขข้อสงสัย มีคำตอบมาให้แล้ว

 

 

 

สิว, ตำแหน่งสิวบอกโรค, ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม, สิวรุนแรง, สิวเห่อ, สิว เกิด จาก อะไร, สิ ว ขึ้น ใต้ คาง

 

 

 

ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง โดยสถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ออกมีชี้ว่า ประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ

 

 

 

โดยชี้แจงว่า ความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งของการเกิดสิ วในที่ต่าง ๆ ของใบหน้าหรือร่างกายกับความผิดปกติหรือโรคในระบบอื่น ๆ นั้น ในปัจจุบันยังไม่มีข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่ช่วยยืนยันหรือสนับสนุนความผิดปกติในเรื่องดังกล่าว สิ วเป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของรูขุมขนและต่อมเหงื่อ (Pilosebaceous unit) ซึ่งเกิดได้ในทุกช่วงอายุ แต่มักจะเกิดมากที่สุดในช่วงวัยรุ่น

 

 

 

สิว, ตำแหน่งสิวบอกโรค, ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม, สิวรุนแรง, สิวเห่อ, สิว เกิด จาก อะไร, สิ ว ขึ้น ใต้ คาง

สิ ว เกิด จาก อะไร มักเกี่ยวข้องกับ

  • การอุดตันของรูขุมขน
  • การผลิต sebum หรือไขมันจากต่อมไขมันที่มากผิดปกติ
  • เชื้อก่อโรค Cutibacterium acnes ที่ผิวหนัง
  • ขบวนการอักเสบของร่างกาย โดยมีปัจจัยทางด้านกรรมพันธุ์ ฮอร์โมน โดยเฉพาะฮอร์โมนเพศชายอย่างแอนโดรเจน (androgen)
  • ปฏิกิริยาทางภูมิคุ้มกันของร่างกาย
  • กรดไขมันจำเป็นที่ผิวหนังบางชนิด เป็นตัวส่งเสริมในการเกิดโรค

 

 

 

สิว, ตำแหน่งสิวบอกโรค, ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม, สิวรุนแรง, สิวเห่อ, สิว เกิด จาก อะไร, สิ ว ขึ้น ใต้ คาง

 

 

 

นอกจากนี้ สิ ว ยังอาจสัมพันธ์กับโรคที่มีความผิดปกติของการผลิดฮอร์โมนเพศ ซึ่งจะสงสัยมากขึ้นในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการอื่น ๆ ร่วมด้วยโดยเฉพาะ

  • ผู้หญิงที่มีสิ วรุนแรง
  • มีสิ วเห่อช่วงใกล้หรือช่วงที่มีประจำเดือน
  • ร่วมกับมีหน้ามันมาก ขนดก
  • ผมบางจากฮอร์โมน
  • เสียงแหบเหมือนผู้ชาย เป็นต้น

บางคนอาจพบมีความผิดปกติของประจำเดือนร่วมด้วยได้ ซึ่งกรณีที่มีความผิดปกติที่สงสัยจะต้องมีการตรวจเพิ่มเติมทางห้องปฏิบัติการต่อไป

 

 

 

ข้อมูล : antifakenewscenter

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด

"พาณิชย์–DITP" จัดกิจกรรมจับคู่เจรจาการค้าระหว่าง ผู้ส่งออกสินค้าน้ำตาล-น้ำตาลแปรรูปกับผู้นำเข้าฟิลิปปินส์
“การรถไฟฯ” แจง ผลตรวจเหล็ก สร้างรถไฟความเร็วสูงไทย-จีน เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
"ผบ.ทบ." เยี่ยมหน่วยตรวจเลือกทหารภาคใต้ ย้ำทุกกระบวนการยึดตามระเบียบ โปร่งใส
นาทีเดือด "กลุ่ม ศปปส." ปะทะ "แกนนำกลุ่มแรงงานพม่า Bright future" หลังจะมาตั้งม็อบประท้วงหน้า UN
"กรมทางหลวงชนบท" โร่แจง ไม่เคยเป็นคู่สัญญากับ "บริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 "
"ก.แรงงาน" เตรียมถกแนวทาง "หลักประกันค่าชดเชย" กรณีถูกเลิกจ้าง 9 เม.ย.นี้
จนท.นำเครื่องจักรหนักเข้าพื้นที่โซน B ได้แล้ว ลุยตัดสิ่งกีดขวางขนาดใหญ่
วอร์รูม “ก.แรงงาน” เร่งเครื่องจ่ายเงินเยียวยา เหยื่อแผ่นดินไหวแล้ว 17.4 ลบ.
"ดีอี" เตือนอย่าหลงเชื่อ ข่าวปลอม “สัญญาณเตือนสึนามิ น้ำทะเลภูเก็ตลดฮวบ หลังแผ่นดินไหวเกาะสุมาตรา”
วินาศสันตะโร รถชนกันสนั่น 7 คันรวด น้ำมันหกเต็มถนนพหลโยธิน มีผู้บาดเจ็บ 6 ราย

ดู LIVE รายการ

X

เราใช้ คุ้กกี้ เพื่อให้ทุกคนได้ประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น