“โรค ซึม เศร้า” เช็ค 8 สัญญาณเตือน สังเกตอาการเบื้องต้นก่อนสาย

โรค ซึม เศร้า, โรค ซึม เศร้า มี กี่ ระยะ, โรค ซึม เศร้า มี อาการ อย่างไร, อาการ โรค ซึม เศร้า เป็นอย่างไร, โรค ซึม เศร้า เกิดจากอะไร, ตรวจสอบ โรค ซึม เศร้า, เช็ค ภาวะ ซึม เศร้า

"โรค ซึม เศร้า" ใกล้ตัวกว่าที่คิด หมั่นสังเกตอาการเบื้องต้นให้ดี เผย 8 สัญญาณเตือนภาวะซึมเศร้า หากพบรีบพบแพทย์ด่วน

“โรค ซึม เศร้า” มี กี่ ระยะ โรค ซึมเศร้า มี อาการ อย่างไร อาการ โรคซึมเศร้า เป็นอย่างไร โรคซึมเศร้า เกิดจากอะไร ตรวจสอบ โรคซึมเศร้า เช็ค ภาวะ ซึม เศร้า 8 สัญญาณเตือนที่หลายคนไม่เคยรู้ หากพบอาการรีบปรึกษาแพทย์ด่วนติดตามต่อได้ที่นี่ TOP News

ข่าวที่น่าสนใจ

รู้หรือไม่? การทำงานที่หนักมากเกินไป เป็นอีกหนึ่งสาเหตุหลักของความเครียด ส่งผลเสียต่อสุขภาพจิตจนอาจะนำไปสู่ภาวะซึมเศร้าได้ ถึงแม้โรคซึมเศร้าเกิดได้จากหลายสาเหตุ ทั้งจาก

  • ความเครียดสะสม
  • ปัญหาที่หาทางออกไม่ได้
  • มองไม่เห็นคุณค่าในตัวเอง
  • การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนบางชนิด

 

 

 

โรค ซึม เศร้า, โรค ซึม เศร้า มี กี่ ระยะ, โรค ซึม เศร้า มี อาการ อย่างไร, อาการ โรค ซึม เศร้า เป็นอย่างไร, โรค ซึม เศร้า เกิดจากอะไร, ตรวจสอบ โรค ซึม เศร้า, เช็ค ภาวะ ซึม เศร้า

 

 

 

แต่สาเหตุหลัก ๆ คือ ความผิดปกติ หรือไม่สมดุลของสารเคมีในสมอง
จึงส่งผลต่อความรู้สึกนึกคิด และระดับความสุขในชีวิตของผู้ที่มีภาวะโรคซึมเศร้า

 

 

 

โรค ซึม เศร้า, โรค ซึม เศร้า มี กี่ ระยะ, โรค ซึม เศร้า มี อาการ อย่างไร, อาการ โรค ซึม เศร้า เป็นอย่างไร, โรค ซึม เศร้า เกิดจากอะไร, ตรวจสอบ โรค ซึม เศร้า, เช็ค ภาวะ ซึม เศร้า

 

 

 

 

 

 

8 สัญญาณเตือน เสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้า

  • เบื่องาน ไม่มีความพอใจในงานที่ทำ
  • เครียด คิดเรื่องงานตลอดแม้ไม่อยู่ที่ทำงาน
  • เหนื่อยสะสม ไม่มีเวลาใช้ชีวิต (ติดต่อกันเป็นเวลานาน)
  • ขาดสมาธิกับงาน ความใส่ใจกับงานลดน้อยลง
  • งานเริ่มเกิดข้อผิดพลาด
  • ควบคุมอารมณ์ยาก ความอดทนต่ำ หงุดหงิดง่าย
  • นอนไม่หลับจนต้องพึ่งยานอนหลับ
  • เริ่มมีโรคประจำตัว เช่น ปวดหัวไมเกรน ปวดหลัง ผมร่วง

 

 

 

โรค ซึม เศร้า, โรค ซึม เศร้า มี กี่ ระยะ, โรค ซึม เศร้า มี อาการ อย่างไร, อาการ โรค ซึม เศร้า เป็นอย่างไร, โรค ซึม เศร้า เกิดจากอะไร, ตรวจสอบ โรค ซึม เศร้า, เช็ค ภาวะ ซึม เศร้า

 

 

 

วิธีป้องกันภาวะซึมเศร้าจากการทำงาน

  •  กำหนดเวลาการทำงานที่ชัดเจน
  • ออกกำลังกาย ทำกิจกรรมที่ชอบ
  • พักผ่อนให้เพียงพอ
  • คุยกับเพื่อนร่วมงาน
  • แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน
  • ลองทำกิจกรรมใหม่ ๆ
  • พบเจอผู้คนใหม่ ๆ สิ่งแวดล้อมใหม่ ๆ
  • ยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้น ปรับความคิดตัวเองว่า เรื่องงานบางอย่างเป็นปัญหาโครงสร้างที่อาจจะแก้ไขได้ยาก หากรู้สึกว่าเรื่องงานกระทบกับชีวิตมากเกินไป แนะนำให้ปรึกษาจิตแพทย์

สปสช. รักษาฟรี ปรึกษาโรงพยาบาลตามสิทธิ

 

 

 

ข้อมูล : สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน – Social Security Office

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด

ศาลออกหมายจับ 'เจ๊หนิง' พร้อมสามีและหลาน ร่วมกันแจ้งความเท็จ 'ภรรยาบิ๊กโจ๊ก'
อิสราเอลถล่มเลบานอนดับครึ่งร้อย
หมายจับ ICC กระทบอิสราเอลอย่างไร
เปิดวิสัยทัศน์ประธานเครือข่ายธุรกิจ Bizclub นครราชสีมาคนใหม่ “กิม ฐิติพรรณ จันทร์ประทักษ์”
เกาหลีใต้ชี้รัสเซียส่งระบบป้องกันภัยทางอากาศให้เกาหลีเหนือ
สหรัฐเมินไฮเปอร์โซนิครัสเซียลั่นไม่หยุดหนุนยูเครน
เมียเอเย่นต์ค้ายาบ้า ร้องถูกตร.รีด 5 แสน แลกปล่อยตัว พ่วงเรียกเก็บเงินรายเดือน
สถาปนาเขตพื้นที่คุ้มครองฯ ชาติพันธุ์ชุมชนชาวเลโต๊ะบาหลิว
ผบ.ตร.สั่งสอบคลิปแก๊งต่างด้าว แสดงพฤติกรรมเย้ยกม. กำชับคุมเข้ม ใช้ยาแรง
รมว.วัฒนธรรม เปิดงานรวมญาติชาติพันธุ์ชาวเลครั้งที่ 14 ชุมชนชาวเลโต๊ะบาหลิว กระบี่ เร่งส่งเสริมวิถีชีวิต วัฒนธรรมชาวเล

ดู LIVE รายการ

X

เราใช้ คุ้กกี้ เพื่อให้ทุกคนได้ประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น