วันนี้ “วัน เหมายัน” 2565 พบกลางคืนยาวนานที่สุดในรอบปี

ตะวันอ้อมข้าว, วัน เหมายัน, วัน เหยายัน 2565, ดวงอาทิตย์, ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ, เวลากลางคืนยาวนานที่สุด, เหมา ยัน คือ วัน เหมายัน คือ อะไร, สถาบันวิจัยดาราศาสตร์

วันนี้ "วัน เหมายัน" กลางวันสั้นที่สุด และกลางคืนยาวนานสุดในรอบปี หรือที่คนไทยเรียกว่า ตะวันอ้อมข้าว

“วัน เหมายัน” 2565 เหมายัน คือ วัน เหมา ยัน คือ อะไร สถาบันวิจัยดาราศาสตร์ เผยปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ที่จะเกิดในวันที่ 22 ธันวาคมนี้ วันเหมายัน หรือที่คนไทยเรียกว่า ตะวันอ้อมข้าว เวลากลางคืนยาวนานที่สุดในรอบปี ติตตามต่อได้ที่นี่ TOP News

ข่าวที่น่าสนใจ

 

 

 

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์ เผยปรากฏการณ์ทางธรรมชาติรับลมหนาวส่งท้ายปี ในวันที่ 22 ธันวาคมนี้ เป็น “วัน เหมายัน” (เห-มา-ยัน) (Winter Solstice) วันที่ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางใต้มากที่สุด และตกทางทิศตะวันตกเฉียงไปทางใต้มากที่สุด ทำให้ช่วงเวลากลางวันสั้นที่สุดและกลางคืนยาวนานที่สุดในรอบปี หรือที่คนไทยเรียกว่า ตะวันอ้อมข้าว

 

 

 

ตะวันอ้อมข้าว, วัน เหมายัน, วัน เหยายัน 2565, ดวงอาทิตย์, ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ, เวลากลางคืนยาวนานที่สุด, เหมา ยัน คือ วัน เหมายัน คือ อะไร, สถาบันวิจัยดาราศาสตร์

 

 

 

ในแต่ละวันดวงอาทิตย์จะปรากฏอยู่ตำแหน่งที่แตกต่างกัน เปลี่ยนตำแหน่งไปประมาณวันละ 1 องศา ตั้งแต่เดือนกันยายนเป็นต้นมา ดวงอาทิตย์ค่อย ๆ เคลื่อนที่จากจุดตั้งฉากกับเส้นศูนย์สูตรของโลกลงมาทางใต้ สังเกตได้จากท้องฟ้าในช่วงนี้จะมืดเร็วขึ้นเรื่อย ๆ

 

 

 

จนกระทั่งดวงอาทิตย์เคลื่อนมา ณ ตำแหน่งเฉียงไปทางทิศใต้มากที่สุดในวันเหมายันของแต่ละปี วันดังกล่าวจึงมีเวลากลางวันที่สั้นที่สุด และเวลากลางคืนยาวนานที่สุด สำหรับวันเหมายันในปีนี้

  • ดวงอาทิตย์จะขึ้นเวลาประมาณ 06:36 น.
  • และตกเวลาประมาณ 17:55 น.

รวมระยะเวลากลางวันเพียง 11 ชั่วโมง 19 นาทีเท่านั้น

 

 

 

ตะวันอ้อมข้าว, วัน เหมายัน, วัน เหยายัน 2565, ดวงอาทิตย์, ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ, เวลากลางคืนยาวนานที่สุด, เหมา ยัน คือ วัน เหมายัน คือ อะไร, สถาบันวิจัยดาราศาสตร์

 

 

 

นอกจากนี้ วันเหมายันยังเป็นวันแรกของการเข้าสู่ฤดูหนาวสำหรับประเทศทางซีกโลกเหนือ แต่สำหรับประเทศทางซีกโลกใต้นั้นจะนับเป็นวันแรกที่เข้าสู่ฤดูร้อน

 

 

สำหรับฤดูกาล เกิดจากแกนโลกเอียงทำมุม 23.5 องศา กับแนวตั้งฉากกับระนาบโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ทำให้พื้นที่ต่าง ๆ ทั่วโลกได้รับแสงอาทิตย์ในปริมาณไม่เท่ากัน ส่งผลให้มีอุณหภูมิต่างกัน รวมถึงระยะเวลากลางวันและกลางคืนก็ต่างกันด้วย จึงทำให้เกิดฤดูกาลขึ้นบนโลกนั่นเอง

 

 

 

ตะวันอ้อมข้าว, วัน เหมายัน, วัน เหยายัน 2565, ดวงอาทิตย์, ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ, เวลากลางคืนยาวนานที่สุด, เหมา ยัน คือ วัน เหมายัน คือ อะไร, สถาบันวิจัยดาราศาสตร์

 

 

 

จะสังเกตได้ว่าในฤดูร้อนดวงอาทิตย์จะขึ้นเร็วและตกช้า เวลากลางวันจะมีระยะเวลายาวนานกว่ากลางคืน แตกต่างกับฤดูหนาวที่ดวงอาทิตย์จะขึ้นช้าและตกเร็ว เวลากลางคืนจะมีระยะเวลายาวนานกว่ากลางวัน

 

 

 

ตลอดระยะเวลา 1 ปีที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ จะเกิดปรากฏการณ์สำคัญที่เกี่ยวข้องกับการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ทั้งหมด 4 ครั้ง ได้แก่

  • วันครีษมายัน : วันที่กลางวันยาวนานที่สุด
  • วันเหมายัน : วันที่กลางคืนยาวนานที่สุด
  • วันวสันตวิษุวัตและวันศารทวิษุวัต : วันที่มีกลางวันและกลางคืนยาวนานเท่ากัน

 

 

 

ข้อมูล : NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด

“เอกภพ” ได้ประกันตัว ปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา ปมให้ข้อมูลเท็จดิไอคอน จ่อฟ้องกลับ
สามเชฟดังร่วมรังสรรค์เมนูเพื่อการกุศลทางการแพทย์
"ทนายบอสพอล" เผยเป็นไปตามคาด "เอก สายไหม" ถูกจับ จ่อดำเนินคดีหมิ่นประมาท เรียกค่าเสียหาย 100 ล้าน
ศาลออกหมายจับ 'เจ๊หนิง' พร้อมสามีและหลาน ร่วมกันแจ้งความเท็จ 'ภรรยาบิ๊กโจ๊ก'
อิสราเอลถล่มเลบานอนดับครึ่งร้อย
หมายจับ ICC กระทบอิสราเอลอย่างไร
เปิดวิสัยทัศน์ประธานเครือข่ายธุรกิจ Bizclub นครราชสีมาคนใหม่ “กิม ฐิติพรรณ จันทร์ประทักษ์”
เกาหลีใต้ชี้รัสเซียส่งระบบป้องกันภัยทางอากาศให้เกาหลีเหนือ
สหรัฐเมินไฮเปอร์โซนิครัสเซียลั่นไม่หยุดหนุนยูเครน
เมียเอเย่นต์ค้ายาบ้า ร้องถูกตร.รีด 5 แสน แลกปล่อยตัว พ่วงเรียกเก็บเงินรายเดือน

ดู LIVE รายการ

X

เราใช้ คุ้กกี้ เพื่อให้ทุกคนได้ประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น