“ดาวเคราะห์” เจมส์ เวบบ์ ตรวจจับแก๊ส SO2 และ CO2 บนดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ

ดาวเคราะห์, กล้องโทรทรรศน์ อวกาศ เจมส์ เว บ บ์, แก๊สดาวเคราะห์, ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ, ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ, ซัลเฟอร์ไดออกไซด์, ชั้นบรรยากาศ, ดาวฤกษ์แม่, WASP-39 b, JWST, ชั้นบรรยากาศดาวเคราะห์, คาร์บอนไดออกไซด์, นักดาราศาสตร์, Transmission spectroscopy, ดาวเคราะห์แก๊สยักษ์ร้อน

ข่าวดี กล้องโทรทรรศน์เจมส์ เวบบ์ ตรวจจับแก๊สในชั้นบรรยากาศ "ดาวเคราะห์" ได้ในแบบที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน เพิ่มขีดจำกัดการค้นหาสิ่งมีชีวิตนอกโลกไปอีกขั้น

ดาวเคราะห์ ชั้น ใน ดาวเคราะห์ วง ใน ข่าวดี วงการดาราศาสตร์ กล้องโทรทรรศน์ อวกาศ เจมส์ เว บ บ์ ตรวจจับแก๊สในชั้นบรรยากาศบน “ดาวเคราะห์” ชั้น นอก ได้เป็นครั้งแรก ติดตามต่อได้ที่นี่ TOP News

ข่าวที่น่าสนใจ

 

 

 

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์ อัปเดตข่าวสารสำคัญทางวงการดาราศาสตร์ กล้องโทรทรรศน์ อวกาศ เจมส์ เว บ บ์ สามารถตรวจจับแก๊สในชั้นบรรยากาศของ “ดาวเคราะห์” แบบที่ไม่เคยมีกล้องใดทำได้มาก่อน โดยระบุว่า กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ (JWST) สามารถตรวจจับแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในชั้นบรรยากาศของดาว เคราะห์นอกระบบสุริยะประเภทแก๊สยักษ์ได้เป็นครั้งแรก

 

 

 

ซึ่งการศึกษาครั้งนี้ยังเสนอว่า กล้องโทรทรรศน์ JWST อาจมีศักยภาพสูงเพียงพอที่จะสามารถตรวจจับแก๊สข้างต้นในชั้นบรรยากาศของดาว เคราะห์หินได้ ซึ่งเป็นดาวเ คราะห์ที่มีขนาดเล็กกว่าดาว เคราะห์แก๊สมาก เพิ่มขีดจำกัดในการค้นหาสิ่งมีชีวิตนอกโลกไปอีกขั้น

 

 

 

ดาวเคราะห์, กล้องโทรทรรศน์ อวกาศ เจมส์ เว บ บ์, แก๊สดาวเคราะห์, ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ, ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ, ซัลเฟอร์ไดออกไซด์, ชั้นบรรยากาศ, ดาวฤกษ์แม่, WASP-39 b, JWST, ชั้นบรรยากาศดาวเคราะห์, คาร์บอนไดออกไซด์, นักดาราศาสตร์, Transmission spectroscopy, ดาวเคราะห์แก๊สยักษ์ร้อน

 

 

 

WASP-39 b เป็นดาว เคราะห์แก๊สยักษ์ร้อนที่มีมวลใกล้เคียงกับดาวเสาร์ อยู่ห่างออกไปจากโลกประมาณ 700 ปีแสง ถูกค้นพบในปีค.ศ. 2011 มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.3 เท่าของดาวพฤหัสบดี โคจรใกล้กับดาวฤกษ์แม่มาก ประมาณ 1 ใน 8 ของระยะห่างระหว่างดวงอาทิตย์และดาวพุธ จึงทำให้มีอุณหภูมิที่บรรยากาศชั้นบนสูงถึง 900 องศาเซลเซียส และทำให้ใช้เวลาโคจรรอบดาวฤกษ์แม่เพียง 4 วันของโลกเท่านั้น

 

 

การสังเกตการณ์ก่อนหน้านี้จากกล้องโทรทรรศน์อื่น ๆ รวมถึงกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและสปิตเซอร์ เผยให้เห็นว่า ชั้นบรรยากาศของ “ดาวเคราะห์” ดวงนี้มี

  • ไอน้ำ
  • โซเดียม
  • และโพแทสเซียมเจือปนอยู่

แต่ด้วยความสามารถของ JWST ที่ไวต่อรังสีอินฟราเรดแบบที่ไม่มีกล้องใดเทียบได้ จึงทำให้สามารถยืนยันการมีอยู่ของคาร์บอนไดออกไซด์และยังสามารถตรวจจับแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศของดาว เคราะห์ดวงนี้ได้ครั้งแรกอีกด้วย

 

 

วิธีที่นักดาราศาสตร์ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เรียกว่า Transmission spectroscopy เป็นการศึกษาชั้นบรรยากาศของดาว เคราะห์ ในจังหวะที่ดาว เคราะห์กำลังเคลื่อนผ่านหน้าดาวฤกษ์แม่ แสงของดาวฤกษ์แม่จะถูกบดบังด้วยดาว เคราะห์ โดยแสงบางส่วนจะผ่านชั้นบรรยากาศของดาว เคราะห์ และโมเลกุลแก๊สในชั้นบรรยากาศดาว เคราะห์จะดูดกลืนแสงออกไปบางช่วงความยาวคลื่น ที่เป็นค่าจำเพาะของโมเลกุลแก๊สนั้น ๆ

 

 

 

ดาวเคราะห์, กล้องโทรทรรศน์ อวกาศ เจมส์ เว บ บ์, แก๊สดาวเคราะห์, ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ, ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ, ซัลเฟอร์ไดออกไซด์, ชั้นบรรยากาศ, ดาวฤกษ์แม่, WASP-39 b, JWST, ชั้นบรรยากาศดาวเคราะห์, คาร์บอนไดออกไซด์, นักดาราศาสตร์, Transmission spectroscopy, ดาวเคราะห์แก๊สยักษ์ร้อน

 

 

 

นักดาราศาสตร์จึงสามารถวิเคราะห์ผล เพื่อระบุว่าองค์ประกอบของชั้นบรรยากาศดาว เคราะห์ได้ ทีมวิจัยใช้อุปกรณ์ Near-Infrared Spectrograph (NIRSpec) ของ JWST ในการสังเกตการณ์ WASP-39 b ด้วยวิธี Transmission spectroscopy พบหลักฐานที่ชัดเจนของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งไม่เคยมีการสังเกตการณ์ใดที่สามารถวัดความแตกต่างที่ความยาวคลื่นระหว่าง 3 ถึง 5 ไมครอนได้

 

 

 

การศึกษาสเปกตรัมในลักษณะนี้ ช่วยให้ระบุว่าชั้นบรรยากาศของดาว เคราะห์มีแก๊สชนิดใดเป็นองค์ประกอบหลัก เช่น ไอน้ำและมีเทน ตลอดจนคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งคาดว่ามีอยู่ในดาว เคราะห์นอกระบบสุริยะหลายประเภท

 

 

 

นอกจากนี้ นักวิจัยยังเปิดเผยข้อมูลที่ไม่เคยตรวจพบได้มาก่อน คือการตรวจพบซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในบรรยากาศของดาว เคราะห์นอกระบบสุริยะเป็นครั้งแรก ซึ่งเป็นโมเลกุลที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่กระตุ้นโดยพลังงานสูงจากดาวฤกษ์แม่

 

 

 

ดาวเคราะห์, กล้องโทรทรรศน์ อวกาศ เจมส์ เว บ บ์, แก๊สดาวเคราะห์, ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ, ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ, ซัลเฟอร์ไดออกไซด์, ชั้นบรรยากาศ, ดาวฤกษ์แม่, WASP-39 b, JWST, ชั้นบรรยากาศดาวเคราะห์, คาร์บอนไดออกไซด์, นักดาราศาสตร์, Transmission spectroscopy, ดาวเคราะห์แก๊สยักษ์ร้อน

 

 

 

การศึกษาองค์ประกอบชั้นบรรยากาศของดาว เคราะห์มีความสำคัญ เพราะ สามารถอธิบายถึงต้นกำเนิดและวิวัฒนาการของดาว เคราะห์ได้ ซึ่งการศึกษาปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ สามารถใช้ระบุสัดส่วนระหว่างมวลของของแข็งกับมวลของแก๊สดาว เคราะห์ได้

 

 

 

อย่างไรก็ตาม การศึกษาครั้งนี้เป็นเพียงจุดเริ่มต้นของการศึกษาดาว เคราะห์นอกระบบสุริยะจาก JWST เพียงเท่านั้น ในทศวรรษที่จะมาถึง JWST จะสำรวจดาวเ คราะห์นอกระบบสุริยะดวงอื่น ๆ อีกมากมาย โดยจะให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับองค์ประกอบของดาว เคราะห์ รวมถึงสามารถอธิบายจุดกำเนิดทั้งดาวเ คราะห์นอกระบบสุริยะ และดาว เคราะห์ในระบบสุริยะของเราเองด้วย
 

 

ข้อมูล : NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด

"กองปราบฯ" รับโอนคดี "ซินแสชื่อดัง" หลอกผู้เสียหายสูญเงิน 66 ล้าน
กรมทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 6 (ตรัง) ศึกษาดูงานด้านการพัฒนาแหล่งน้ำบาดาล
"นครราชสีมา" เสี่ยงภัยแล้ง 10 อำเภอ ชลประทานประกาศงดทำนาปรังทั้งจังหวัด
"อัจฉริยะ" แจงผลสอบ "อาหารเสริม Eighteen 18" พบมีเลข อย.ถูกต้อง
"อดีตบิ๊กข่าวกรอง" ชี้เจรจา MOU 44 ถามคนไทยหรือยัง เอาพลังงานหรืออธิปไตย
สุดเศร้า "นักเรียน ม.4" เรียนวิชาพละ  วิ่งได้ 200 เมตร หัวใจวายเสียชีวิต
"ณัฐวุฒิ" โอ่คนไทยอ่านขาดแล้ว เกมฝ่ายขวาจัด ปลุกชาตินิยม ล้มรบ. เย้ยรอบนี้ไม่ง่ายเหมือนก่อน
เปิด 40 รายชื่อ สรุปยอดผู้สมัคร ป.ป.ช. พบคนดังเพียบ
"ยายวัย 80 ปี" เครียดอยากจบชีวิต หลังถูก "แก๊งคอลเซ็นเตอร์" หลอกโอนเงินเก็บเกลี้ยงบัญชี
"ร้านเนื้อย่างดัง" โพสต์ตามหา "ลูกค้า" โอนเงินค่าอาหารเกิน 2 แสนบาท

ดู LIVE รายการ

X

เราใช้ คุ้กกี้ เพื่อให้ทุกคนได้ประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น