เมือง “มลพิษทางอากาศ” มากที่สุดในโลก 2565 ธากา รั้งอันดับ 1

มลพิษทางอากาศ, โรค ที่ เกิด จาก มลพิษ ทาง อากาศ มาก, กาธา, บังคลาเทศ, ดัชนีคุณภาพอากาศ, AQI, PM 2.5, ปัญหามลพิษทางอากาศ, เมืองที่มีคุณภาพอากาศย่ำแย่ที่สุดในโลก

ธากา เมืองหลวงบังคลาเทศ ครองแชมป์เมือง "มลพิษทางอากาศ" มากที่สุดในโลก 2 ปีติด ด้วยค่าดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) ถึง 251

เมือง “มลพิษทางอากาศ” โรค ที่ เกิด จาก มลพิษ ทาง อากาศ มากที่สุดในโลกประจำ 2022 ปีนี้ ตกเป็นของกรุงธากา เมืองหลวงของประเทศบังคลาเทศ ครองอันดับ 1 เมืองที่มีคุณภาพอากาศย่ำแย่ที่สุดในโลก ติดตามต่อได้ที่นี่ TOP News

ข่าวที่น่าสนใจ

 

 

 

สำนักข่าวซินหัว รายงานว่า ยูเอ็นบี (UNB) สำนักข่าวเอกชนชั้นนำของบังกลาเทศ เผย กรุงธากา เมืองหลวงของประเทศครองอันดับ 1 เมืองที่มีคุณภาพอากาศย่ำแย่ที่สุดในโลกอีกครั้ง ด้วยค่าดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) อยู่ที่ 251 เมื่อนับถึง 08.53 น. ของวันที่ 22 ธันวาคมที่ผ่านมาตามเวลาท้องถิ่น

 

 

 

มลพิษทางอากาศ, โรค ที่ เกิด จาก มลพิษ ทาง อากาศ มาก, กาธา, บังคลาเทศ, ดัชนีคุณภาพอากาศ, AQI, PM 2.5, ปัญหามลพิษทางอากาศ, เมืองที่มีคุณภาพอากาศย่ำแย่ที่สุดในโลก

 

 

 

โดยค่า AQI ระหว่าง 201-300 จัดเป็นระดับที่ไม่ดีต่อสุขภาพอย่างมาก ส่วนค่าที่อยู่ระหว่าง 301-400 นับว่าเป็นอันตรายที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพของประชาชนอย่างรุนแรง

 

 

 

ในขณะเมืองโกลกาตาของอินเดียและกรุงฮานอยของเวียดนาม ครองอันดับ 2 และอันดับ 3 ในกลุ่มรายชื่อดังกล่าว โดยมีค่า AQI อยู่ที่ 201 และ 192 ตามลำดับ

 

 

 

มลพิษทางอากาศ, โรค ที่ เกิด จาก มลพิษ ทาง อากาศ มาก, กาธา, บังคลาเทศ, ดัชนีคุณภาพอากาศ, AQI, PM 2.5, ปัญหามลพิษทางอากาศ, เมืองที่มีคุณภาพอากาศย่ำแย่ที่สุดในโลก

 

 

 

ค่าเอคิวไอในบังกลาเทศจะอิงจาก “มลพิษทางอากาศ” 5 ชนิด ได้แก่

  • ฝุ่นละอองขนาดเล็ก อาทิ PM.10 และPM 2.5
  • ไนโตรเจนไดออกไซด์
  • คาร์บอนมอนอกไซด์
  • ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
  • โอโซน

 

 

 

ธากาต่อสู้กับปัญหามลพิษ ทางอากาศมายาวนานแล้ว โดยคุณภาพอากาศภายในเมืองมักอยู่ในระดับที่ไม่ดีต่อสุขภาพในช่วงฤดูหนาว และดีขึ้นในช่วงฤดูมรสุม

 

 

 

มลพิษทางอากาศ, โรค ที่ เกิด จาก มลพิษ ทาง อากาศ มาก, กาธา, บังคลาเทศ, ดัชนีคุณภาพอากาศ, AQI, PM 2.5, ปัญหามลพิษทางอากาศ, เมืองที่มีคุณภาพอากาศย่ำแย่ที่สุดในโลก

 

 

 

ทั้งนี้ มลพิษ ทางอากาศเป็นปัจจัยเสี่ยงการเสียชีวิตและความพิการทั่วโลกอันดับต้น ๆ โดยองค์การอนามัยโลก (WHO) เผยว่า มลพิษเหล่านี้คร่าชีวิตผู้คนทั่วโลกราว 7 ล้านคนในแต่ละปี ซึ่งการเสียชีวิตที่เพิ่มขึ้นส่วนใหญ่เป็นผลมาจาก

  • โรคหลอดเลือดสมอง
  • โรคหัวใจ
  • โรคหลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง (COPD)
  • โรคมะเร็งปอด
  • โรคติดเชื้อเฉียบพลันในระบบหายใจ

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด

“ทักษิณ” ลั่นปัญหา 3 จังหวัดชายแดนใต้ ต้องจบในรัฐบาลนี้ ยึดการพูดคุย เป็นแนวทางสร้างสันติสุข
เลขาธิการ สปส. แจงเสถียรภาพ "กองทุนประกันสังคม" ย้ำชัดสิทธิประโยชน์ดีเพิ่มขึ้นทุกปี
คึกคักสุดๆ แห่เที่ยวตามรอย "ลิซ่า" ในซีรีส์ The White Lotus 3 ทำยอดจองโรงแรมเกาะสมุยพุ่ง
ผู้ลี้ภัยแอลจีเรียไล่แทงตำรวจในฝรั่งเศส
เต่าทะเลกว่า 6 แสนตัวแห่วางไข่ที่ชายหาดอินเดีย
ฮามาสปล่อย 6 ตัวประกันสุดท้ายภายใต้ข้อตกลงเฟสแรก
‘Super AI Engineer Season 5’ รวมพลังรัฐ-เอกชน-ประชาสังคม ปั้นบุคลากร AI เสริมขีดความสามารถแข่งขันไทย
"ดร.ปณิธาน" ยกพัทยาโมเดล แก้ปัญหา "ชาวอิสราเอล" ล้นเมืองปาย แนะหน่วยมั่นคงบังคับใช้กม.ใกล้ชิด
"อดีตสว.สมชาย" แฉโพย ฮั้วเลือกสว. ชี้เป็นหลักฐาน ดีเอสไอ เร่งนำลากไส้ตัวการใหญ่
‘ทักษิณ’ ปลื้มลงพื้นที่นราธิวาส ในรอบ 19 ปี ปชช.รอต้อนรับ

ดู LIVE รายการ

X

เราใช้ คุ้กกี้ เพื่อให้ทุกคนได้ประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น