เช็คลิสต์ 9 “วัคซีน” ในวัยรุ่น ฉีดให้ครบ กระตุ้นภูมิ ลดเกิดโรค

วัคซีน, วัคซีน hbv, hpv วัคซีน, วัคซีนในวัยรุ่น, กระตุ้นภูมิคุ้มกัน, ลดความรุนแรงของโรค, วัยรุ่น, วัคซีนตับอักเสบบี, วัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม, วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี, วัคซีนตับอักเสบเอ, วัคซีนอีสุกอีใส, วัคซีนโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรนชนิดไร้เซลล์, วัคซีนเอชพีวี, วัคซีนไข้หวัดใหญ่, วัคซีนไข้เลือดออก, ฉีด วัคซีน hpv

เปิดเช็คลิสต์ 9 "วัคซีน" ในวัยรุ่น ควรฉีดให้ครบ ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ลดความรุนแรงและลดการเกิดโรค

เปิดเช็คลิสค์ 9 “วัคซีน” วัคซีน hbv ฉีด วัคซีน hpv hpv วัคซีน สำคัญในวัยรุ่น ที่พ่อแม่ต้องรู้ ฉีดให้ครบ ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ลดความรุนแรงและลดการเกิดโรค มีอะไรบ้าง ติตตามต่อได้ที่นี่ TOP News

 

ข่าวที่น่าสนใจ

รู้หรือไม่ ถึงแม้จะอยู่ในช่วงวัยที่แข็งแรง ก็สามารถเกิดโรคได้ แม้จะเคยได้รับภูมิจากการรับ “วัคซีน” ในตอนเด็กมาแล้ว แต่ก็ใช่ว่าจะป้องกันเราได้ตลอด เพราะ แต่ละปีมีการระบาดของโรคต่าง ๆ เข้ามาเรื่อย ๆ ต่อให้แข็งแรงแค่ไหนก็มีความเสี่ยง ซึ่งรวมถึงวัยรุ่นด้วย การป้องกันด้วยวัค ซีนแต่เนิ่น ๆ จึงเป็นสิ่งสำคัญ ล่าสุด สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เปิดเช็คลิสต์ 9 วัค ซีน ที่สำคัญในวัยรุ่น ฉีดให้ครบ ช่วยกระตุ้นภูมิ ลดการเกิดโรคได้ จะมีอะไรบ้าง เช็คได้ที่นี่

วัค ซีนในวัยรุ่น

  • ส่วนใหญ่เป็นวัค ซีนต่อเนื่อง ใช้สำหรับการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ช่วยลดการเกิดโรคและลดความรุนแรงของโรคได้ โดยวัค ซีนแต่ละชนิดมีเกณฑ์การได้รับแตกต่างกันไป

 

วัคซีน, วัคซีน hbv, hpv วัคซีน, วัคซีนในวัยรุ่น, กระตุ้นภูมิคุ้มกัน, ลดความรุนแรงของโรค, วัยรุ่น, วัคซีนตับอักเสบบี, วัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม, วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี, วัคซีนตับอักเสบเอ, วัคซีนอีสุกอีใส, วัคซีนโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรนชนิดไร้เซลล์, วัคซีนเอชพีวี, วัคซีนไข้หวัดใหญ่, วัคซีนไข้เลือดออก, ฉีด วัคซีน hpv

 

1. วัค ซีนตับอักเสบบี (วัค ซีน hbv)

  • โดยปกติทารกควรฉีดวัค ซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบีครั้งแรกเมื่อแรกเกิด และจะต้องฉีดวัค ซีนจนครบชุดเมื่ออายุครบ 6 เดือน
  • แต่สำหรับวัยรุ่นที่ไม่เคยได้รับวัค ซีนนี้มาก่อน ควรฉีดวัค ซีนโดยแนะนำให้ฉีด 3 เข็ม ระยะห่าง 0 , 1 และ 6 เดือนตามลำดับ
  • โดยวัคซีนเข็มที่ 2 ไม่ควรฉีดก่อน 1 เดือน หากเลยกำหนด 1 เดือนให้ฉีดเข็มที่ 2 ทันทีที่นึกได้ และนับต่อไปอีก 5 เดือนสำหรับเข็มที่ 3
  • กรณีได้รับวัค ซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบบีไม่ครบตามกำหนด (ไม่ครบ 3 เข็ม) ควรฉีดวัค ซีนต่อโดยเร็วที่สุด

2. วัค ซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม

  • ปกติจะฉีดเข็มแรกเมื่ออายุ 9 เดือน และเข็มที่ 2 เมื่ออายุ 1 ปี 6 เดือน
  • สำหรับวัยรุ่นที่ไม่เคยได้รับวัค ซีนนี้ ควรได้รับวัค ซีน 2 เข็ม ห่างกันอย่างน้อย 4 สัปดาห์ แต่หากเคยได้รับมาแล้ว 1 เข็มควรฉีดเพิ่มอีก 1 เข็ม
  • หลีกเลี่ยงการใช้ยาในผู้ที่แพ้ยานีโอมัยซิน เจลาติน หรือเคยมีปฏิกิริยากับวัค ซีน MMR อย่างรุนแรง

 

วัคซีน, วัคซีน hbv, hpv วัคซีน, วัคซีนในวัยรุ่น, กระตุ้นภูมิคุ้มกัน, ลดความรุนแรงของโรค, วัยรุ่น, วัคซีนตับอักเสบบี, วัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม, วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี, วัคซีนตับอักเสบเอ, วัคซีนอีสุกอีใส, วัคซีนโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรนชนิดไร้เซลล์, วัคซีนเอชพีวี, วัคซีนไข้หวัดใหญ่, วัคซีนไข้เลือดออก, ฉีด วัคซีน hpv

3. วัค ซีนไข้สมองอักเสบเจอี

  • ยุงรำคาญเป็นพาหะนำโรค จะแพร่เชื้อไวรัสในตัวยุงไปยังคนหรือสัตว์ที่ถูกกัด
  • สำหรับวัยรุ่นที่ไม่เคยได้รับวัค ซีนนี้ ควรรับวัค ซีน 2 เข็ม ห่างกันอย่างน้อย 3-12 เดือน ขึ้นกับชนิดของวัคซีน อาจต้องฉีดกระตุ้นทุก ๆ 4-5 ปี เพื่อให้ภูมิคุ้มกันอยู่ในระดับสูงพอที่จะป้องกันโรคได้

4. วัค ซีนตับอักเสบเอ

  • ไวรัสตับอักเสบเอติดต่อทางการกิน ก่อให้เกิดโรคตับอักเสบและตับวายเฉียบพลันได้
  • ปัจจุบัน มีวัค ซีนตับอักเสบเอชนิดฉีด 1 เข็ม เป็นวัค ซีนชนิดเชื้อเป็น และวัค ซีนฉีด 2 เข็ม ห่างกัน 6-12 เดือน

 

วัคซีน, วัคซีน hbv, hpv วัคซีน, วัคซีนในวัยรุ่น, กระตุ้นภูมิคุ้มกัน, ลดความรุนแรงของโรค, วัยรุ่น, วัคซีนตับอักเสบบี, วัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม, วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี, วัคซีนตับอักเสบเอ, วัคซีนอีสุกอีใส, วัคซีนโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรนชนิดไร้เซลล์, วัคซีนเอชพีวี, วัคซีนไข้หวัดใหญ่, วัคซีนไข้เลือดออก, ฉีด วัคซีน hpv

 

5. วัค ซีนอีสุกอีใส

  • โรคอีสุกอีใสในวัยรุ่นมีความรุนแรงสูง ควรฉีดวัค ซีนนี้ในวัยรุ่นทุกคนที่ยังไม่เป็นโรคและไม่เคยฉีดวัค ซีน
  • ฉีด 2 เข็มห่างกันอย่างน้อย 3 เดือน แนะนำในผู้ที่อายุมากกว่าหรือเท่ากับ 13 ปีขึ้นไป ให้ฉีด 2 เข็ม ห่างกันอย่างน้อย 28 วัน

6. วัค ซีนโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรนชนิดไร้เซลล์

  • แนะนำให้กระตุ้นเมื่ออายุ 11-12 ปี และหลังจากนั้นกระตุ้นด้วยวัค ซีนโรคคอตีบ-บาดทะยัก ทุก 10 ปี
  • หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับวัค ซีนบาดทะยัก คอตีบ ไอกรน ที่อายุครรภ์ 27-36 สัปดาห์ในทุกการตั้งครรภ์

วัคซีน, วัคซีน hbv, hpv วัคซีน, วัคซีนในวัยรุ่น, กระตุ้นภูมิคุ้มกัน, ลดความรุนแรงของโรค, วัยรุ่น, วัคซีนตับอักเสบบี, วัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม, วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี, วัคซีนตับอักเสบเอ, วัคซีนอีสุกอีใส, วัคซีนโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรนชนิดไร้เซลล์, วัคซีนเอชพีวี, วัคซีนไข้หวัดใหญ่, วัคซีนไข้เลือดออก, ฉีด วัคซีน hpv

 

7. วัค ซีนเอชพีวี (hpv วัคซีน)

  • ป้องกันการเกิดหูดหงอนไก่ที่อวัยวะเพศ มะเร็งปากมดลูก มะเร็งปากช่องคลอดและทวารหนัก
  • วัค ซีนมีหลายชนิด คือ
    • ชนิด 2 สายพันธุ์
    • 4 สายพันธุ์
    • 9 สายพันธุ์
  • แนะนำฉีดในวัยรุ่น อายุ 9-26 ปี ฉีด 3 เข็ม และในวัยรุ่นแข็งแรงดี หากเข็มแรกฉีดก่อนอายุ 15 ปี ให้ฉีด 2 เข็ม
  • ประสิทธิภาพของวัค ซีนจะสูงในผู้ไม่เคยมีเพศสัมพันธ์หรือไม่เคยติดเชื้อมาก่อน

8. วัค ซีนไข้หวัดใหญ่

  • วัค ซีนมี 2 ชนิด คือ
    • ชนิด 3
    • 4 สายพันธุ์
  • แนะนำฉีดวัค ซีนในวัยรุ่นทุกปี ปีละ 1 เข็ม เนื่องจาก สายพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงทุกปี
  • ห้ามให้ในผู้ที่แพ้ยา/แพ้วัค ซีน หรือส่วนประกอบของวัค ซีนนี้ โดยเฉพาะผู้ที่แพ้ไข่ โปรตีนจากไก่ ยาปฏิชีวนะที่ใช้ในกระบวนการผลิตวัค ซีน เช่น
    • ยานีโอมัยซิน (Neomycin)
    • ยาโพลีมัยซิน (Polymyxin)

วัคซีน, วัคซีน hbv, hpv วัคซีน, วัคซีนในวัยรุ่น, กระตุ้นภูมิคุ้มกัน, ลดความรุนแรงของโรค, วัยรุ่น, วัคซีนตับอักเสบบี, วัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม, วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี, วัคซีนตับอักเสบเอ, วัคซีนอีสุกอีใส, วัคซีนโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรนชนิดไร้เซลล์, วัคซีนเอชพีวี, วัคซีนไข้หวัดใหญ่, วัคซีนไข้เลือดออก, ฉีด วัคซีน hpv

9. วัค ซีนไข้เลือดออก

  • ฉีดได้ในผู้มีอายุ 9-45 ปี ฉีด 3 เข็ม แต่ละเข็มฉีดห่างกัน 6 เดือน
  • สามารถสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันไข้เลือดออกได้ 5-6 ปี นับจากวันที่ได้รับวัค ซีนเข็มแรก
  • แนะนำฉีดในผู้ที่เคยติดเชื้อไข้เลือดออกมาก่อนและผู้อาศัยในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก
  • สำหรับผู้ไม่เคยติดเชื้อไข้เลือดออก ควรตรวจเลือดก่อนการฉีดวัค ซีน

หลังได้รับวัค ซีนอาจพบอาการข้างเคียง 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

1. อาการทั่วไป เช่น

  • อาการไข้
  • อ่อนเพลีย
  • ผื่น เป็นต้น

2. อาการเฉพาะที่ เช่น

  • อาการปวด
  • บวมแดง
  • เจ็บ
  • คันบริเวณที่ฉีด

สามารถบรรเทาได้โดยประคบเย็นบริเวณที่บวม ซึ่งจะช่วยให้ทุเลาลง หรืออาจทานยาแก้ปวดลดไข้ร่วมด้วย การรับวัค ซีนแต่ละชนิดมีข้อบ่งใช้ ระยะเวลา รูปแบบการฉีด และข้อจำกัดของแต่ละบุคคลแตกต่างกันออกไป จึงควรได้รับการพิจารณาจากแพทย์ถึงความเหมาะสมและความปลอดภัยก่อนทุกครั้ง

ข้อมูล : สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด

เร่งช่วย "39 ชีวิต ชาวต่างชาติ" หนีตายข้ามน้ำเมยเข้าฝั่งไทย หลังถูกแก๊งจีนเทาหลอกทำงาน
"ศราวุธ" ชี้ "ชัยธวัช" ต้องรับผิดชอบ พาดพิงภรรยาเอี่ยวยาเสพติด มองเป็นเรื่องร้ายแรง
"หวยเดือนธันวาคม 2567 ออกวันไหน" เช็กวัน หวยเลื่อนออก 2 งวด
ด่วน! ออกหมายจับ "สามารถ" คดีฟอกเงิน "ดีเอสไอ" ค้นบ้าน คุมตัวแม่สอบปากคำ
บรรยากาศสุดฟิน จุดชมวิวทะเลหมอก และพระอาทิตย์ขึ้น ที่ภูค้อ เมืองนาแห้ว
"กระทรวงแรงงาน" เร่งผลักดันกม.คุ้มครองแรงงานอิสระทุกอาชีพ ตั้งเป้าขึ้นทะเบียนปีแรก 9 ล้านคน
ตร.กองปราบฯ คุมตัวอดีตภรรยา-ลูกสาว "หมอบุญ" ฝากขังศาลฯ-ค้านการประกันตัว
แห่ชื่นชม “ทนายสายหยุด” ถอนตัว-ไม่ยืนข้างคนผิด “ทนายเดชา” พูดแล้วเสียบแทนมั้ย?
"สันติสุข" กางภาพชัดๆ ยืนกราน ไม่มีใครสั่ง ห้าม Top news เสนอข่าว MOU 44
"ชัยยะ อังกินันทน์" รักษาเก้าอี้ นายกอบจ.เพชรบุรี ได้อีกสมัย คะแนนนำขาด

ดู LIVE รายการ

X

เราใช้ คุ้กกี้ เพื่อให้ทุกคนได้ประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น