เตือน “หน้าฝน” กิ้งกือชุก ไม่กัด แต่มีพิษ แนะ 3 วิธีรักษา เช็ค

แพทย์เตือน "หน้าฝน" กิ้งกือชุก ไม่กัด แต่มีพิษ บางรายร้ายแรงจนผิวหนังไหม้ แนะ 3 วิธีรักษา หากโดนพิษกิ้งกือ

แพทย์ผิวหนังเตือน “หน้าฝน” กิ้งกือชุก กิ้งกือ มี พิษ ไหม กิ้งกือ มี พิษ พิษ กิ้งกือ ย้ำ ไม่ใช่สัตว์อันตราย ไม่กัด แต่มีพิษ ผิวหนังระคายเคือง บางรายผิวหนังมีแผลไหม้ แนะ 3 วิธีรักษา หากโดนพิษโดยบังเอิญ ติดตามต่อได้ที่นี่ TOP News

ข่าวที่น่าสนใจ

สถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย์ เตือนประชาชนในช่วง “หน้าฝน” ให้ระมัดระวัง กิ้งกือ แม้จะไม่ใช่สัตว์อันตราย ไม่กัด แต่มีพิษ ที่ส่งผลให้ผิวหนังระคายเคืองได้

นายแพทย์ไพโรจน์ สุรัตนวนิช รองอธิบดีกรมการแพทย์ กล่าวว่า ในช่วงฤดูฝน เป็นช่วงที่อาจจะพบกิ้งกือได้บ่อย ๆ ในบ้าน หรือสวนสาธารณะต่าง ๆ ขอให้ประชาชนระมัดระวังและหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับกิ้งกือโดยตรง

 

กิ้งกือ, หน้าฝน, กิ้งกือ มี พิษ ไหม, กิ้งกือ มี พิษ, พิษ กิ้งกือ, ฤดูฝน, ผิวหนังมีแผลไหม้, ระคายเคือง

 

ถึงแม้กิ้งกือไม่ใช่สัตว์อันตราย ไม่กัด แต่ถ้าสัมผัสถูกตัว อาจจะสัมผัสสารพิษของกิ้งกือ ซึ่งจะถูกปล่อยออกมาจากบริเวณข้างลำตัว สารพิษเหล่านี้

  • จะมีฤทธิ์ฆ่าสัตว์เล็ก ๆ ประเภทมด หรือแมลง เท่านั้น
  • แต่อาจจะส่งผลกระทบต่อผิวหนังของมนุษย์ได้เมื่อสัมผัสโดยตรง

สารพิษ กิ้งกือ มีลักษณะเป็นของเหลวใสไม่มีสี ประกอบด้วย

  • สารกลุ่มไฮโดนเจน ไซยาไนด์ (Hydrogen cyanide)
  • ฟีนอล (Phenol)
  • กลุ่มเบนโซควิโนน
  • ไฮโดรควิโนน (Benzoquinones/hydroquinones)

ซึ่งมีฤทธิ์ทำให้ผิวหนังมีแผลไหม้ได้ และบางรายอาจจะมีอาการปวด รวมทั้งการระคายเคืองของผิวหนังร่วมด้วย

 

กิ้งกือ, หน้าฝน, กิ้งกือ มี พิษ ไหม, กิ้งกือ มี พิษ, พิษ กิ้งกือ, ฤดูฝน, ผิวหนังมีแผลไหม้, ระคายเคือง

อาการที่พบ

  • สารพิษของกิ้งกือจะถูกปล่อยมาจากบริเวณข้างลำตัว มีฤทธิ์ฆ่าสัตว์เล็ด ๆ เช่น มด แมลง
  • คนสัมผัสจำทำให้เกิดการอักเสบเป็นผื่นแดง หรือทำให้ระคายเคืองในกรณีถูกพิษกิ้งกือเข้าตา
  • กิ้งกือบางสายพันธุ์เท่านั้นที่จะมีต่อมพิษอยู่ตลอกข้างลพตัว สามารถฉีดสารพิษพุ่งออกไปได้ไกล สารพิษมีลักษณะเป็นของเหลวใสไม่มีสี มีฤทฑิ์ทำให้ผิวหนังไหม้ มีอาการปวด 2-3 วัน

 

กิ้งกือ, หน้าฝน, กิ้งกือ มี พิษ ไหม, กิ้งกือ มี พิษ, พิษ กิ้งกือ, ฤดูฝน, ผิวหนังมีแผลไหม้, ระคายเคือง

 

 

การรักษา

  • หากถูกพิษของกิ้งกือให้ล้างออกด้วยน้ำสบู่และน้ำสะอาดโดยทันที
  • สามารถทายาแก้อักเสบ อาการมักจะหายภายใน 1 สัปดาห์
  • หากพิษเข้าตา อาจะทำให้ตาอักเสบ ควรล้างตาด้วยน้ำสะอาด และรีบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยทันที

ข้อมูล : กรมการแพทย์

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด

ทบ.ขานรับนโยบายปราบยาเสพติด เพิ่มทหาร 6 กองกำลัง วัดเคพีไอ 10 กพ.-10 มิ.ย.
ซีพีเอฟ ซีพี-เมจิ ร่วมหนุนสระบุรีแซนด์บ๊อกซ์ "รวมพลังสร้างเมืองคาร์บอนต่ำแห่งแรกของประเทศไทย”
สละเรือแล้ว! "ผบ.อิสราเอล" ยื่น "ลาออก" เซ่นเหตุ 7 ต.ค. ไล่แทงกันในเทลอาวีฟเจ็บ 5
สุดปัง “นายกฯ” สวมกระโปรงผ้าปาเต๊ะ ร่วมประชุม WEF
ทบ.ยืนยันอีกรอบ! ปมร้อน “แสตมป์” ไม่เกี่ยวกองทัพ พบไม่เคยร้อง 112
ผบ.ทร.เข้าเยี่ยม พร้อมมอบของบำรุงขวัญ สร้างกำลังใจทหารผ่านศึก ขอบคุณเสียสละเพื่อชาติจนทุพพลภาพ
“อัจฉริยะ” ยอมเสี่ยงชีวิต มาขึ้นไต่สวนคดีละเมิดอำนาจศาล พร้อมเปิดแผลผ่าตัดโชว์นักข่าว
"อิสราเอล" บิดหยุดยิง ถล่มเวสต์แบงก์ดับเกลื่อน "ฮามาส" รวมพลด่วน
ตม.4 บุกทลายเว็บพนันฯเกาหลีใต้ ใช้ไทยเป็นฐานบัญชาการควบคุมทั่วโลก เงินหมุนเวียน 100 ล้านบาท
เปิดคำพิพากษา “เต้ มงคลกิตติ์” ทำสัญญาประนีประนอม ยอมขอโทษ หมิ่นกล่าวหา “ศักดิ์สยาม”

ดู LIVE รายการ

X

เราใช้ คุ้กกี้ เพื่อให้ทุกคนได้ประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น