จำให้ขึ้นใจ 4 วิธีป้อง “มิจฉาชีพ” ล้วงเงินในบัญชี ดูไว้ได้ไม่ตกเป็นเหยื่อ

จำให้ขึ้นใจ 4 วิธีป้อง "มิจฉาชีพ" ล้วงเงินในบัญชี ดูไว้ได้ไม่ตกเป็นเหยื่อ

จำให้ขึ้นใจ 4 วิธีป้อง “มิจฉาชีพ” ล้วงเงินในบัญชี ดูไว้ได้ไม่ตกเป็นเหยื่อ

เพจเฟซบุ๊ก “สืบนครบาล IDMB” โพสต์วิธีป้องกันเงินในบัญชีจากมิจฉาชีพ โดยระบุรายละเอียดไว้ว่า

1. ไม่เชื่อม WiFi ทำธุรกรรมทางการเงิน : การใช้ WiFi ที่บ้าน หรือ WiFi ในที่สาธารณะ มีความเสี่ยงที่ทำให้มิจฉาชีพล้วงเอาข้อมูลที่เกี่ยวกับบัญชีธนาคารเราไปได้

มิจฉาชีพ

 

ข่าวที่น่าสนใจ

2. ตั้งการแจ้งเตือนเมื่อเงินเข้า-ออกในบัญชี : เราควรเปิดรับการแจ้งเตือนไม่ว่าจะ SMS หรือ Email หรือผ่าน Line เพื่อให้เรารับรู้ทุกครั้งที่มีการโอนเงินเข้า โอนเงินออก ดังนั้นหากเมื่อมีเงินออกโดยที่เราไม่ได้ทำการโอนด้วยตัวเองก็อาจจะแก้ไขได้ทันเวลา

3. ตั้งจำกัดวงเงินการถอนต่อวัน : เป็นการจำกัดว่าใน 1 วัน เรานำเงินออกจากบัญชีได้เท่าไร โดยตั้งค่าผ่านแอปพลิเคชันของธนาคารได้เลย (หรือติดต่อไปที่ธนาคาร)

 

4. ตั้งค่าความเป็นส่วนตัวในแอปฯธนาคาร : เพื่อไม่ให้ผู้อื่นเข้ามาในบัญชีธนาคารของเราได้ง่าย ๆ ควรตั้งรหัสผ่าน 2 ชั้น เช่น การรับ OTP, เปลี่ยนรหัสบ่อย ๆ และที่สำคัญไม่ควรเซฟรหัส หรือ 3 ตัวเลขหลังบัตรไว้ในโทรศัพท์มือถือ

มิจฉาชีพมักมีวิธีการหรือกลโกงหลากหลาย เพื่อที่จะพยายามขโมยเงินในบัญชี ฉะนั้นเราจึงต้องคอยระมัดระวัง เพื่อไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของมิจฉาชีพ

 

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด

‘ทักษิณ’ ปลื้มลงพื้นที่นราธิวาส ในรอบ 19 ปี ปชช.รอต้อนรับ
นายกฯ รับรายงาน ตร.ไทย-กัมพูชา ร่วมมือทลายแก๊งคอลเซ็นเตอร์ ฝั่งปอยเปต ช่วยเหยื่อคนไทยนับร้อย หลุดพ้น
“เทพไท” เชื่อ 44 อดีตสส.ก้าวไกล ลงชื่อรื้อ แก้ 112 ถูกตัดสิทธิ์ กระทบหนักยิ่งกว่าถูกยุบพรรค
"หม่องชิต ตู่" ส่งกำลังทหารกว่า 150 นาย คุมเข้มเคเคปาร์ค จับหัวหน้าแก๊งคอลเซนเตอร์ กวาดต้อน 450 เหยื่อต่างชาติ
ใต้ป่วนต่อเนื่อง คนร้ายลอบวางบึ้มหน้าร้านสะดวกซื้อ บันนังสตา ตร.เจ็บ 7 นาย-ชาวบ้านอีก 4 เช้านี้บึ้มรถยนต์อีก หน้าห้างสนามบินนราฯ
พรรคไทยก้าวหน้า แถลงขอโทษปชช. แจงคดี “สส.ปูอัด” ขอรอผ่านชั้นอัยการ ก่อนตัดสินใจขับพ้นพรรค
"นิด้าโพล" คนไทยส่วนใหญ่ เชื่อ "เพื่อไทย-ภูมิใจไทย" ขัดแย้งจริง แต่เคลียร์จบได้
มาแน่ เช็กรายชื่อ 39 จังหวัด รับมือพายุฝนถล่ม ลมแรง กทม.โดนด้วย ร้อนสุด 37 องศา
"ตม." งัดข้อมูลซัด "โรม" หน้าหงาย ระบบ Biometrics บันทึกข้อมูลทุกคน ระบบ PIBICS คุมคนต่างด้าว
สธ.แจงไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ใน "ค้างคาว" ยังไม่แพร่ระบาดสู่คน

ดู LIVE รายการ

X

เราใช้ คุ้กกี้ เพื่อให้ทุกคนได้ประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น